Page 122 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 122
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที� ๔๙ ฉบัับัที� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๗
112 การกลืืนกลืายชาติิพัันธุ์์�: กรณีีก์ลืาในภาคอีีสานขอีงไทย
เส้นทางที�นายฮิ้อยติ้อนโคกระบ่อจากอีสานส้่ภาคกลางจะติ้องผ่่านดีงพัระยาไฟื้ (ปัจจ์บันค่อ
ดีงพัระยาเย็น) ที�มีีกิติติิศัพัท�เล่�องล่อในเร่�องความีท์รกันดีาร นายฮิ้อยชาวก์ลาและคณะติ้อนฝ่้งโคกระบ่อ
ข้ามีดีงพัระยาไฟื้โดียใช้เส้นทางหลัก ๓ เส้นทาง ค่อ
๑. เส้นทางดีงพัระยาไฟื้ ผ่่านทางปากช่องและมีวกเหล็กไปทะล์ออกปากเพัรียวหร่อเมี่องสระบ์รี
๒. เส้นทางดีงพัระยากลาง หร่อช่องนางสระผ่มี ไปทะล์ออกทางสนามีแจง ในพั่�นที�จังหวัดีลพับ์รี และ
๓. เส้นทางที�ผ่่านทางช่องติะโก ไปทะล์ออกที�กบินทร�บ์รี
เมี่�อเดีินทางทะล์ออกจากดีงพัระยาไฟื้แล้ว นายฮิ้อยก์ลาก็จะติ้อนโคกระบ่อเร่ขายไปติามีจังหวัดีติ่าง ๆ
ในภาคกลาง จนกระทั�งขายโคกระบ่อหมีดีจึงเดีินทางกลับ
การติ้อนฝ่้งโคกระบ่อจากอีสานลงไปภาคกลางของพั่อค้าก์ลามีักจะเติ็มีไปดี้วยความียากลำบากและ
ปัญ่หาติ่าง ๆ ประการแรก ค่อ ความีท์รกันดีารของป่าเขาและธุ์รรมีชาติิติามีเส้นทางจากอีสานลงส้่ภาคกลาง
ซึ�งเติ็มีไปดี้วยสัติว�ร้ายและไข้ป่า ประการที�สอง ซึ�งสำคัญ่มีากกว่า ค่อ การถิ่้กโจรผ่้้ร้ายปล้นสะดีมีเอาโคกระบ่อ
และเงิน ดีังนั�น คณะที�เดีินทางของนายฮิ้อยชาวก์ลาจำเป็นติ้องมีีอาว์ธุ์ เช่น ดีาบ ป้น ไว้ป้องสัติว�ร้ายและ
โจรผ่้้ร้าย แติ่ถิ่ึงกระนั�นก็ยังมีีพั่อค้าชาวก์ลาถิ่้กปล้นสะดีมีอย้่เน่อง ๆ ซึ�งเป็นปัญ่หาที�แก้ไมี่ติก
การเร่ขายสินค้าของชาวก์ลาในภาคอีสานซึ�งเริ�มีขึ�นอย่างจริงจังมีาติั�งแติ่สมีัยรัชกาลที� ๓ แห่ง
กร์งรัตินโกสินทร�ประสบปัญ่หาย์่งยากมีาติลอดี จนกระทั�งถิ่ึงติอนปลายสมีัยรัชกาลที� ๕ กิจการค้าของก์ลาก็ค่อย ๆ
ซบเซาลงและหมีดีไปในที�ส์ดี จ์งโกะ โคอิซ้มีิ (Koizumi, 1990) ซึ�งทำการศึกษาเร่�องนี� วิเคราะห�ว่ามีีสาเหติ์สำคัญ่
๔ ประการที�ทำให้บทบาทในการค้าขาย โดียเฉพัาะอย่างยิ�งการค้าขายโคกระบ่อของพั่อค้าชาวก์ลาหมีดีไป ค่อ
๑. เศรษฐกิจในพัมี่าและในสยามีเริ�มีเปลี�ยนแปลงส้่การเป็นเศรษฐกิจสมีัยใหมี่ที�มีีระบบมีากขึ�น ทำให้
การค้าขายของชาวก์ลาซึ�งเป็นพั่อค้าเร่ที�เดีินทางรอนแรมีไปติามีหมี้่บ้านมีีความีสำคัญ่ลดีลง
๒. อีสานไมี่ใช่ดีินแดีนที�โดีดีเดีี�ยวอีกติ่อไป แติ่สามีารถิ่ติิดีติ่อกับโลกภายนอกไดี้สะดีวกขึ�น เน่�องจาก
การคมีนาคมีไดี้รับการพััฒนาให้ดีีขึ�น ทางรถิ่ไฟื้ก็ถิ่ึงนครราชสีมีา และอ์บลราชธุ์านีแล้ว สินค้าติ่าง ๆ คนอีสานก็
สามีารถิ่เข้าถิ่ึงไดี้ง่ายขึ�น ไมี่ติ้องอาศัยพั่อค้าชาวก์ลาอีกติ่อไป
๓. ในทางการปกครอง อีสานไดี้ถิ่้กผ่นวกเข้าเป็นส่วนหนึ�งของสยามีดี้วยระบบเทศาภิบาล ซึ�งเป็นระบบ
ใหมี่ ในช่วงติ้นแห่งการเปลี�ยนแปลงนี�ทำให้เกิดีความีสับสนพัอสมีควรสำหรับเจ้าหน้าที�ในท้องถิ่ิ�น ปัญ่หาหลาย
อย่างของพั่อค้าชาวก์ลาโดียเฉพัาะอย่างยิ�งการถิ่้กปล้นสะดีมีถิ่้กมีองว่ามีีความีสำคัญ่น้อย และไมี่ไดี้รับการจัดีการ
อย่างเหมีาะสมีเท่าที�ควร ทำให้พั่อค้าชาวก์ลาจำนวนมีากเกิดีความีท้อแท้
๔. ชาวก์ลาไมี่ใช่พั่อค้าจากติ่างแดีนเพัียงกล์่มีเดีียวที�ค้าขายอย้่ในภาคอีสาน แติ่ยังมีีพั่อค้าชาวจีน
แขก และเวียดีนามีดี้วย พั่อค้าเหล่านี�ส่วนมีากไมี่ใช่พั่อค้าเร่ แติ่ปักหลักอย้่ในท้องถิ่ิ�น ทำให้ค์้นเคยกับคนในพั่�นที�
และทำธุ์์รกิจไดี้ดีีกว่า นอกจากนี�คนอีสานเองก็สามีารถิ่เป็น “นายฮิ้อย” ทำการค้าโคกระบ่อและสินค้าภายใน
ท้องถิ่ิ�นไดี้อย้่แล้ว ดีังนั�นบทบาทของพั่อค้าชาวก์ลาจึงลดีลงและหมีดีไปในที�ส์ดี
แมี้ว่าก์ลาจะไมี่มีีบทบาทในการค้าขายในชนบทอีสานอีกติ่อไปแล้ว แติ่ก็ติ้องยอมีรับความีจริงอย่างหนึ�งว่า
พั่อค้าเร่เหล่านี�มีีบทบาทสำคัญ่ในการนำเอาระบบเศรษฐกิจที�ใช้เงินติราในการซ่�อขาย (money economy)
เข้าส้่ชนบทของภาคอีสาน พั่อค้าจากติ่างแดีนอีก ๒ กล์่มีที�มีีบทบาทในเร่�องนี�ค่อพั่อค้าชาวจีนและชาวเวียดีนามี
(บ์ญ่จิติติ� ช้ทรงเดีช, ๒๕๔๒; ธุ์นัญ่ชัย รสจันทร�, ๒๕๕๐)