Page 125 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 125

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                               ปีีที่่� ๔๙ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษาย์น ๒๕๖๗

                    รองศาสตราจารย์์ ดร.ชาย์  โพธิิสิตา                                                   115



                  สร้างขึ�นนั�นไมี่เพัียงแติ่เป็นศ้นย�รวมีทางจิติใจของชาวก์ลาเท่านั�น แติ่ยังเป็นศ้นย�กลางทางศิลปะและประเพัณี

                  ติามีแบบของชาวก์ลาดี้วย เช่น มีีประเพัณีการบวชล้กชายเป็นสามีเณร (ประเพัณีปอยส่างลอง หร่องานบวช
                  ล้กแก้ว) ซึ�งเป็นเอกลักษณ�สำคัญ่ของชาวก์ลา นอกจากนี�ในเทศกาลออกพัรรษาก็มีีการละเล่นหลากหลาย

                  ติ่างจากการละเล่นของชาวอีสาน อาทิ ฟื้ันดีาบ รำมีวย รำมีองเซิง กลองก้นยาว เล่นนางกวาง นางมี้า ระบำ
                  นกย้ง ปล่อยโคมีลอย ปักโคมีดีอกบัวทั�วบริเวณวัดี อย่างไรก็ติามี ประเพัณีและการละเล่นเหล่านี�ไมี่ไดี้ปฏิบัติิ

                  ในช์มีชนอีกติ่อไปแล้วในปัจจ์บัน เฉพัาะประเพัณีบวชล้กแก้วนั�นมีีการจัดีเป็นครั�งส์ดีท้ายติั�งแติ่ พั.ศ. ๒๔๗๐
                  (ส์ธุ์ิดีา ติันเลิศ และ พััชรี ธุ์านี, ๒๕๕๙)

                         ก์ลาที�ติั�งรกรากอย้่ที�ช์มีชนอ่�น ๆ ในภาคอีสานก็คงประสบกับการกล่นกลายทำนองเดีียวกัน จึงอาจกล่าว
                  ไดี้ว่า ชาวก์ลาในภาคอีสานไดี้ส้ญ่เสียเอกลักษณ�เดีิมีของติน และไมี่มีีความีแติกติ่างจากคนส่วนใหญ่่ในท้องถิ่ิ�น

                  อีกติ่อไป นั�นค่อชาติิพัันธุ์์�ก์ลาไดี้กล่นกลายเข้ากับชาติิพัันธุ์์�ไทยลาวในภาคอีสานแล้วอย่างสมีบ้รณ�



                  อีภิปราย
                         เร่�องราวของชาวก์ลาในภาคอีสานมีีประเดี็นคำถิ่ามีที�น่าจะอภิปรายอย่างน้อย ๒ ประเดี็น

                         ป็ระเด็นแรก อะไรค่อปัจจัยที�อย้่เบ่�องหลังการกล่นกลายชาติิพัันธุ์์�ก์ลา ในทรรศนะของผ่้้เขียนปัจจัยดี้าน
                  ติ่าง ๆ ที�ควรนำมีาพัิจารณาเพั่�อทำความีเข้าใจเร่�องการกล่นกลายชาติิพัันธุ์์�ก์ลาในภาคอีสาน ไดี้แก่

                          ดี้านศาสนา ชาวก์ลากับคนลาวในท้องถิ่ิ�นอีสานมีีสิ�งที�เหมี่อนกันอย่างหนึ�งค่อติ่างก็นับถิ่่อพัระพั์ทธุ์
                  ศาสนาแบบเถิ่รวาทเหมี่อนกัน ความีไมี่แติกติ่างกันในความีเช่�อทางศาสนาทำให้ชาวก์ลาและชาวลาวอีสานใน

                  ช์มีชนไมี่ร้้สึกแปลกแยกติ่อกัน ข้อนี�ทำให้ชาวก์ลาซึ�งเป็นคนกล์่มีน้อยยอมีรับเอาธุ์รรมีเนียมีปฏิบัติิของคนใน
                  ท้องถิ่ิ�นไดี้โดียง่าย เพัราะแทบจะไมี่ติ้องปรับติัวในมีิติิดี้านความีเช่�อและศาสนาเลย

                          ดี้านทัศนคติิที�ดีีติ่อชาวก์ลาของคนในท้องถิ่ิ�น คนลาวอีสานทั�วไปมีีทัศนคติิที�ดีีติ่อชาวก์ลา เช่น ที�บ้าน
                  โนนใหญ่่ ติำบลก่อเอ้ อำเภอเข่�องใน จังหวัดีอ์บลราชธุ์านี ที�มีีพั่อค้าชาวก์ลาเข้ามีาติั�งรกรากอย้่ติั�งแติ่ พั.ศ. ๒๓๙๐

                  ชาวบ้านส่วนมีากให้ความีเห็นว่า ก์ลาเป็นคนขยัน หนักเอาเบาส้้ ชนิดีที�คนในหมี้่บ้านส่วนมีากส้้ไมี่ไดี้
                  นอกจากนี� ก์ลายังเป็นคนอย้่กินง่าย หลายคนถิ่ึงกับบอกว่าอยากให้ล้กสาวของตินไดี้แติ่งงานกับชาวก์ลา (ส์ธุ์ิดีา

                  ติันเลิศ และพััชรี ธุ์านี, ๒๕๕๙) ทัศนคติิเช่นนี�ทำให้ก์ลามีีความีร้้สึกดีี และพัร้อมีที�จะทำติัวให้กลมีกล่นเป็น
                  หนึ�งเดีียวกับคนในท้องถิ่ิ�น โดียไมี่ร้้สึกกังวลว่าจะส้ญ่เสียเอกลักษณ�เดีิมีของติน

                          ดี้านการแติ่งงาน พั่อค้าก์ลาที�เข้ามีาติั�งรกรากอย้่ในภาคอีสานนั�นส่วนมีากที�ส์ดี (หร่ออาจจะทั�งหมีดี)
                  เข้ามีาโดียการแติ่งงาน หร่อเป็นเขยของครอบครัวชาวลาวในหมี้่บ้าน ติามีธุ์รรมีเนียมีปฏิบัติิของคนลาวอีสาน

                  เมี่�อแติ่งงานแล้วฝ่่ายชาย (เขย) ติ้องเข้าไปอย้่ร่วมีในครอบครัวของฝ่่ายหญ่ิง (ภรรยา) จะอย้่นานเพัียงใดีขึ�น
                  อย้่กับสถิ่านะของแติ่ละครอบครัว บางรายอาจจะอย้่จนมีีล้ก และล้กโติพัอช่วยงานพั่อแมี่ไดี้บ้างแล้วจึงย้ายออก

                  ไป “มีีเร่อน” (ครอบครัว) ของตินเองติ่างหาก ซึ�งโดียมีากก็มีักจะอย้่ในบริเวณเดีียวกันกับเร่อนของพั่อแมี่
                  ฝ่่ายภรรยานั�นเอง ขณะที�บางรายอาจจะอย้่ติลอดีไป (Leffertz, 1974; Mizuno, 1978; Podhisita, 1985)
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130