Page 120 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 120
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที� ๔๙ ฉบัับัที� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๗
110 การกลืืนกลืายชาติิพัันธุ์์�: กรณีีก์ลืาในภาคอีีสานขอีงไทย
ย์์คที่่�สามื: ย์์คการเติบโตด้านการค้า เป็นผ่ลมีาจากสนธุ์ิสัญ่ญ่าเบาว�ริงระหว่างรัฐบาลอังกฤษกับ
รัฐบาลสยามีซึ�งมีีผ่ลบังคับใช้เมี่�อวันที� ๖ เมีษายน พั.ศ. ๒๓๙๙ ในย์คนี�การเดีินทางและการติิดีติ่อค้าขายระหว่างพัมี่า
กับไทยขยายติัวมีากขึ�น เน่�องจากคนจากประเทศพัมี่า ซึ�งถิ่่อว่าเป็นคนในบังคับของอังกฤษ ไดี้รับความีค์้มีครอง
เสมี่อนว่าเป็นคนอังกฤษ ทั�งในดี้านการเดีินทางและการค้าขาย เช่�อว่าชาวก์ลาซึ�งไดี้เดีินทางเข้ามีาค้าขายใน
สยามีก่อนหน้านั�นอย้่แล้วไดี้เดีินทางเข้ามีามีากขึ�นในย์คนี� นอกจากนี�เมี่�อบริษัทบริติิชบอร�เนียวและบริษัท
บอมีเบย�เบอร�มีาซึ�งเป็นบริษัทสัญ่ชาติิอังกฤษเข้ามีาทำสัมีปทานป่าไมี้ในสยามี ไดี้นำแรงงานจากพัมี่าเข้ามีาทำ
ไมี้ในหลายจังหวัดีทางภาคเหน่อของไทย เช่น เชียงใหมี่ ลำพั้น ลำปาง แพัร่ น่าน คนงานชาวติ้องส้้และไทใหญ่่
ก็รวมีอย้่ในกล์่มีคนงานที�นำเข้ามีาจากพัมี่าดี้วย
เส้นทางที�กล์่มีชาติิพัันธุ์์�ติ้องส้้ เดีินทางเข้ามีาสยามีในอดีีติว่า มีี ๔ เส้นทางหลัก (ล้านนาคดีี มีหาวิทยาลัย
แมี่โจ้, ๒๕๐๘) ค่อ
๑. เส้นทางแมี่ฮิ่องสอน เข้ามีาทางบ้านผ่าป้น ผ่่านเมี่องปาย เมี่องยวมี ส่วนใหญ่่เป็นชาวติ้องส้้ที�เดีิน
ทางมีาจากเมี่องหมีอกใหมี่ เมี่องป๋อน เมี่องหนองบอน
๒. เส้นทางฝ่าง เป็นชาวติ้องส้้ที�มีาจากเมี่องปั�น เมี่องนาย
๓. เส้นทางแมี่สาย เป็นชาวติ้องส้้ที�มีาจากเมี่องติ่องกี เมี่องหนอง
๔. เส้นทางแมี่สอดี เป็นชาวติ้องส้้มีาจากเมี่องติะถิ่์่ง เมี่องมีะละแหมี่ง
ชาวติ้องส้้ที�เดีินทางเข้ามีาค้าขายในภาคอีสานส่วนใหญ่่มีีภ้มีิลำเนาเดีิมีอย้่ที�เมี่องมีะละแหมี่ง และ
เมี่องใกล้เคียง ทางติอนใติ้ของประเทศพัมี่า (เมีียนมีา) โดียเดีินทางเข้ามีาทางเมี่องติาก เมี่องระแหง เมี่อง
กำแพังเพัชร ข้ามีช่องเขาเพัชรบ้รณ�เข้ามีายังพั่�นที�ฝ่ั�งติะวันติกของแมี่น�ำโขง (ภาคติะวันออกเฉียงเหน่อของไทย)
ภายในภาคอีสานพั่อค้าชาวก์ลาคงเดีินทางค้าขายไปทั�วท์กหัวเมี่อง ดีังจะเห็นไดี้จากเอกสารใบบอกจากหัวเมี่อง
ติ่าง ๆ ในภาคอีสานสมีัยรัชกาลที� ๕ ซึ�งไดี้กล่าวถิ่ึงก์ลาอย้่เน่อง ๆ (ธุ์วัช ป์ณโณทก, ๒๕๔๒ ; ส์ธุ์ิดีา ติันเลิศ
และ พััชรี ธุ์านี, ๒๕๕๙)
การค้าขายขอีงชาวก์ลืาในภาคอีีสาน
เน่�อหาในหัวข้อนี�ผ่้้เขียนอาศัยข้อมี้ลส่วนใหญ่่ที�สร์ปและเรียบเรียงจากบทความีหลายเร่�องเกี�ยวกับ
ชาวก์ลา โดียเฉพัาะอย่างยิ�งค่อ การศึกษาของจ์งโกะ โคอิซ้มีิ (Koizumi, 1990) นักวิชาการมีหาวิทยาลัย
เกียวโติ ประเทศญ่ี�ป์่นเร่�อง Why the Kula Wept: A Report on the Trade Activities of the Kula
in Isan at the End of the 19th Century บทความีเร่�อง ก์ลา, ขบัวนัการค้า ของ บ์ญ่จิติติ� ช้ทรงเดีช
บทความีเร่�อง ตองสู้ : ชนัชาติ ของ ธุ์วัช ป์ณโณทก และบทความีเร่�อง ก์ลา (บั้านัโนันัใหญ่�) : ชาติพัันัธ์์ ของ
คนึงนิติย� จันทบ์ติร (ดี้รายละเอียดีใน Koizumi, 1990; บ์ญ่จิติติ� ช้ทรงเดีช ๒๕๔๒; ธุ์วัช ป์ณโณทก ๒๕๔๒;
คนึงนิติย� จันทบ์ติร ๒๕๔๒)