Page 118 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 118

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที� ๔๙ ฉบัับัที� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๗

             108                                                     การกลืืนกลืายชาติิพัันธุ์์�: กรณีีก์ลืาในภาคอีีสานขอีงไทย



                    คำอธุ์ิบายของจิติร ภ้มีิศักดีิ�ที�สร์ปมีาข้างติ้นมีีประเดี็นสำคัญ่อย่างน้อย ๒ ประเดี็นค่อ (๑) คำว่า ก์ลา

             มีีติ้นติอมีาจากประเทศพัมี่า (เมีียนมีา) ชาวพัมี่าใช้คำนี�เรียกคนที�มีาจากอินเดีียในสมีัยก่อน ไมี่ว่าจะมีาจาก
            ส่วนใดีของอินเดีียก็ติามี คำนี�มีีนัยของการไมี่ให้เกียรติิคนที�ถิ่้กเรียก เสมี่อนว่านี�เป็นคนที�ติ�ำกว่าเรา หร่อเป็น

            คนแปลกหน้า และไมี่ใช่พัวกเรา (๒) ก์ลา หร่อคำที�ออกเสียงคล้ายกันนี�มีีการใช้กันทั�วไปในประเทศไทย ลาว
             และเขมีรในสมีัยก่อน แมี้จะออกเสียงเพัี�ยนกันไปบ้างก็ติามี ผ่้้เขียนสันนิษฐานว่า เมี่�อมีีการติิดีติ่อกับพั่อค้า

             ชาวพัมี่า คนไทยในสมีัยก่อน (รวมีทั�งคนลาวและคนเขมีรดี้วย) คงจะไดี้คำนี�มีาจากพัมี่า แติ่คนพัมี่าที�เรียกคน
             ซึ�งมีาจากอินเดีียว่าก์ลานั�น เมี่�อเดีินทางเข้ามีาค้าขายในหมี้่คนไทย ลาว และเขมีรพัวกเขากลับถิ่้กเรียกว่า

             “ก์ลา” เสียเอง ๕

                    ชนชาติ “ก์ลืา”

                    ถิ่้า ก์ลา ค่อ “ชนชาติิติ้องส้้และไทใหญ่่” ติามีความีหมีายที�ให้ไว้ในพัจนาน์กรมีฉบับราชบัณฑิิติยสถิ่าน
             ดีังที�ไดี้กล่าวถิ่ึงแล้วข้างติ้น สิ�งที�ติ้องทำความีเข้าใจติ่อไป ค่อ ต้องสู้และไทุ่ใหญ่�เป็็นัใคร

                    ไทุ่ใหญ่� นั�นเป็นช่�อที�คนไทยส่วนใหญ่่ค์้นกันอย้่แล้ว อย่างน้อยก็มีีภาษาที�ไมี่ติ่างกับคนเมี่องใน
             ภาคเหน่อมีากนัก ในฐานข้อมี้ลกล์่มีชาติิพัันธุ์์� ซึ�งรวบรวมีโดียศ้นย�มีาน์ษยวิทยาสิรินธุ์ร คนในกล์่มีชาติิพัันธุ์์�นี�

             เรียกติัวเองว่า “ไทใหญ่่” หร่ออีกช่�อหนึ�งค่อ “ไติ” หร่อ “คนไติ” แติ่ช่�อที�คนอ่�น (คนนอก) เรียกชนกล์่มีนี�มีีหลาย
             ช่�อ ค่อ ชานั ฉานั ไทุ่ใหญ่� เงี�ยว ไทุ่เหนัือ ไทุ่มาว กล์่มีชาติิพัันธุ์์�ไทใหญ่่ส่วนมีากอาศัยอย้่ในรัฐฉานของประเทศ

             พัมี่า หร่อเมีียนมีาในปัจจ์บัน (ศ้นย�มีาน์ษยวิทยาสิรินธุ์ร, ๒๕๖๖ข)
                    ส่วน ต้องสู้ นั�นเป็นชาติิพัันธุ์์�อีกกล์่มีหนึ�ง ชนกล์่มีนี�เรียกติัวเขาเองว่า “ปะโอ” แติ่มีีช่�อที�คนอ่�นเรียกพัวก

             เขาหลายช่�อ ค่อ ปะโอ กะเหรี�ยงดีำ ติ่องส้้ หร่อ ติ่องซ้่ ถิ่้าเช่นนั�นก็สร์ปไดี้ว่า “ติ้องส้้” หร่อช่�ออ่�นที�ออกเสียงใกล้
             เคียงกันนี� รวมีทั�งช่�อ ปะโอ และกะเหรี�ยงดีำ ก็ค่อกล์่มีชาติิพัันธุ์์�เดีียวกัน (ในบทความีนี�ผ่้้เขียนจะใช้ช่�อ “ติ้องส้้”

             เพัียงช่�อเดีียว เพั่�อให้สอดีคล้องกับคำที�ใช้ในพัจนัานั์กรม ฉบัับัราชบััณฑิิตยสถานั พั.ศ. ๒๕๕๔) ชนชาติิติ้องส้้
             และไทใหญ่่นี�เองค่อกล์่มีชาติิพัันธุ์์�ที�คนในภาคอีสานเรียกรวมีกันว่า “ก์ลา”

                    ธุ์วัช ป์ณโณทก ผ่้้เชี�ยวชาญ่การศึกษาประวัติิศาสติร�และวรรณกรรมีอีสาน กล่าวว่า “ติ้องส้้ เป็นชนชาติิ
             ก์ลา หร่อไทยใหญ่่ ที�เข้ามีาค้าขายในภาคอีสาน ซึ�งชาวอีสานเรียกว่า ก์ลา แติ่เอกสารราชการเรียกว่า ติ้องส้้

             หร่อ ติองส้้ หร่อ ติองซ้่ คำว่า ก์ลา นี�ในเอกสารเก่าใช้ว่า ค์ลา ก็มีี ก์หล่า ก็มีี.....ชาวติ้องส้้มีีภ้มีิลำเนาอย้่ในเมี่อง
             มีะละแหมี่ง (ทางติอนใติ้ของประเทศเมีียนมีา) เดีินทางเข้ามีาค้าขายผ่่านเมี่องติาก เมี่องระแหง เมี่องกำแพังเพัชร

             ผ่่านเพัชรบ้รณ� สระบ์รี ขึ�นไปภาคอีสาน” (ธุ์วัช ป์ณโณทก, ๒๕๔๒ : ๑๓๖๖) โยอาคิมี ชลีซิงเงอร� (Schliesinger,
             2000: 214) จัดีกล์่มีชาติิพัันธุ์์�ปะโอ (หร่ออีกช่�อหนึ�งค่อ ติ้องส้้) ไว้ในชนชาติิในติระก้ลภาษาจีน-ทิเบติ

             กล์่มีภาษาทิเบติ-พัมี่า แขนงภาษากะเหรี�ยง



             ๕  นักวิชาการชาวพัมี่า (เมีียนมีา) ท่านหนึ�งบอกผ่้้เขียนว่า ปัจจ์บันนี�คนพัมี่าที�มีีการศึกษาพัอสมีควรส่วนมีากยังเข้าใจความีหมีายของคำ ก์ลา ว่า
             เป็นคำที�ในสมีัยก่อนใช้เรียกคนที�อพัยพัเข้ามีาจากอินเดีีย นักวิชาการท่านนี�ร้้สึกประหลาดีใจว่า คนไทยก็เรียกพั่อค้าที�เดีินทางเข้ามีาจากพัมี่าว่า
             ก์ลา ดี้วย (Dr. Than-Tun Sein, personal communication, August 15, 2003)
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123