Page 117 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 117

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                               ปีีที่่� ๔๙ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษาย์น ๒๕๖๗

                    รองศาสตราจารย์์ ดร.ชาย์  โพธิิสิตา                                                   107



                         เน่�องจากชาติิพัันธุ์์�ก์ลาไมี่ปรากฏอย้่ในบัญ่ชีรายช่�อกล์่มีชาติิพัันธุ์์�ในประเทศไทย ทั�งของสถิ่าบันวิจัย

                  ภาษาและวัฒนธุ์รรมีเอเชียและของศ้นย�มีาน์ษยวิทยาสิรินธุ์รที�กล่าวถิ่ึงข้างติ้น ถิ่้าเช่นนั�นคำว่า ก์ลามีีที�มีาอย่างไร
                  และใครค่อชนชาติิก์ลา

                         ว่่าด้ว่ย์คำ “ก์ลืา”
                         พัจนัานั์กรม ฉบัับัราชบััณฑิิตยสถานั พั.ศ. ๒๕๕๔ ให้ความีหมีายคำ ก์ลา ว่าหมีายถิ่ึง “ชนชาติิติ้องส้้

                  และไทใหญ่่, ก์หล่า หร่อ ค์ลา ก็ว่า; ภาษาถิ่ิ�นพัายัพั ใช้เรียกชนติ่างประเทศ เช่น เรียกชนชาติิฝ่รั�งว่า ก์ลาขาว,
                  เรียกชนชาติิแขก ว่า ก์ลาดีำ” (ราชบัณฑิิติยสถิ่าน, ๒๕๕๔ : ๑๓๗) นอกจากนี�ยังให้ความีหมีายของคำที�มีี

                  “ก์ลา” ประกอบอย้่ ๒ คำ ค่อ ก์ลาซ่อนผ่้า ซึ�งเป็นช่�อการเล่นของเดี็กชนิดีหนึ�ง และ ก์ลาติีไมี้ ซึ�งเป็นช่�อการเล่น
                                         ๔
                  ชนิดีหนึ�งในงานพัระราชพัิธุ์ี
                         คำถิ่ามีที�ติามีมีาค่อ ในเมี่�อ ก์ลา หมีายถิ่ึง “ชนชาติิติ้องส้้และไทยใหญ่่” ทำไมีคนในประเทศไทยจึงไมี่
                  เรียกชนชาติิสองกล์่มีนี�ว่า “ติ้องส้้” หร่อ “ไทใหญ่่” โดียติรงไปเลย มีีเหติ์ผ่ลอะไรที�ทำให้คนในประเทศไทยเรียก

                  ชนชาติิติ้องส้้และไทใหญ่่ว่า “ก์ลา” ในทัศนะของผ่้้เขียนคำติอบในเร่�องนี�อาจจะอย้่ที�ความีเป็นมีาของคำ “ก์ลา”
                         ในหนังส่อ ความเป็็นัมาของคำ สยาม, ไทุ่ย ลาว และขอม และลักษณะทุ่างสังคมของชื�อชนัชาติ

                  จิติร ภ้มีิศักดีิ� อธุ์ิบายความีเป็นมีาของคำว่า ก์ลา และกล์่มีชนที�คนอ่�นเรียกว่า “ก์ลา” ไว้น่าสนใจ (จิติร ภ้มีิศักดีิ�,
                  ๒๕๕๖: ๓๖๐-๓๖๑) ผ่้้เขียนขอสร์ปความีมีาเสนอดีังนี�

                         เดีิมีที�เดีียว ก์ลา เป็นคำที�ชาวพัมี่าใช้พั้ดีเป็นภาษาปากติลาดีเรียกชาวอินเดีีย และมีีความีหมีายเชิง
                  ดี้ถิ่้กเหยียดีหยามีว่าเป็นคนชั�นติ�ำ จิติร ภ้มีิศักดีิ�ขยายความีติ่อไปว่า ไติล่�อออกเสียงคำนี�เป็น กะลา แติ่ยังคง

                  หมีายถิ่ึงคนอินเดีีย ไทยพัายัพั (คนเมี่อง) ใช้ว่า กูลวา เป็นคำเก่าที�ใช้เรียกชาวอินเดีียเช่นกัน และคำ กูลวาขาว
                  ซึ�งใช้ในภาษาโบราณ ใช้เรียกพัวกฝ่รั�ง คนไทยภาคกลางใช้ว่า ค์ลา มีาแติ่โบราณ ในภาษาลาวใช้ ก์หล�า เป็น

                  คำเรียกชนพัวกหนึ�งที�มีาจากพัมี่าเหน่อ สะพัายสัมีภาระเร่ขายไปติามีละแวกบ้าน แติ่ที�เข้าใจรวมี ๆ ว่าค่อพัมี่า
                  ก็มีี ในภาษาเขมีร คำนี�เป็น ก์ฬา (ออกเสียง โกะลา) พัจนาน์กรมีเขมีร-ฝ่รั�งเศสฉบับหนึ�งแปลคำ ก์ฬา (โกะลา)

                  เป็นภาษาฝ่รั�งเศสไว้ว่า ค่อ ชาวพัมี่า และไดี้ให้คำอธุ์ิบายเป็นภาษาเขมีรเพัิ�มีเติิมีไว้ว่า เป็นชนชาติิหนึ�งในเอเชีย
                  ปัจจ์บันนี�รวมีอย้่ในประเทศพัมี่า








                  ๔  ข้อมี้ลจากรายการ “ร้้ รัก ภาษาไทย” ของราชบัณฑิิติยสถิ่าน (๒๕๕๖, ๑๗ มีีนาคมี) กล่าวว่า ก์ลาตีไม้ เป็นการละเล่นของหลวงอย่างหนึ�ง
                  ซึ�งมีีมีาติั�งแติ่สมีัยกร์งศรีอย์ธุ์ยาถิ่ึงปัจจ์บัน การละเล่นดีังกล่าวแสดีงในพัระราชพัิธุ์ีติ่าง ๆ อาจแสดีงในเขติพัระราชฐานหร่อนอกเขติพัระราชฐาน
                  การเล่นก์ลาติีไมี้คล้ายกับการเล่นพั่�นเมี่องของชาวทมีิฬในอินเดีียใติ้ ซึ�งเรียกว่า ทัณฑิรส มีีช่�อเป็นสันสกฤติว่า ศิราษ มีัณฑิละ เป็นการแสดีงใช้
                  บ้ชาเทพัเจ้า ไทยไดี้รับอิทธุ์ิพัลนำมีาแสดีงในงานพัระราชพัิธุ์ี เน่�องจากในสมีัยโบราณไทยเรียกชาวอินเดีียที�มีีผ่ิวดีำว่า แขกก์ลา ดีังนั�นการแสดีง
                  ก์ลาติีไมี้ จึงเรียกช่�อติามีเช่�อชาติิของผ่้้นำเข้ามีาเผ่ยแพัร่ในไทย ความีที�กล่าวมีาข้างติ้นนี�แสดีงว่า แขกก์ลาคงเข้ามีาติิดีติ่อกับราชสำนักไทยมีานานแล้ว
                  อย่างน้อยก็ติั�งแติ่สมีัยกร์งศรีอย์ธุ์ยา สันนิษฐานว่าแขกก์ลาที�นำเอาการละเล่น ก์ลาตีไม้ เข้าส้่ราชสำนักไทยอาจจะเป็นพัวกพัราหมีณ� หร่อนักบวช
                  ในศาสนาฮิินดี้จากอินเดีียใติ้ ซึ�งมีีบทบาทดี้านพัิธุ์ีกรรมีในราชสำนักไทยมีาแติ่โบราณ และนี�ก็แสดีงว่าคำ “ก์ลา” ไมี่ใช่คำใหมี่ที�เพัิ�งมีีใช้ในย์คที�มีี
                  การคิดีติ่อค้าขายกับพั่อค้าจากพัมี่าเท่านั�น
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122