Page 124 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 124

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที� ๔๙ ฉบัับัที� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๗

             114                                                     การกลืืนกลืายชาติิพัันธุ์์�: กรณีีก์ลืาในภาคอีีสานขอีงไทย



                    ในอำเภอเข่�องในนี� นอกจากบ้านโนนใหญ่่แล้ว ยังมีีอีกหมี้่บ้านหนึ�งที�มีีพั่อค้าชาวก์ลาเข้ามีาอย้่อย่าง

             ถิ่าวร ค่อ บ้านสร้างถิ่่อ แติ่ไมี่มีีข้อมี้ลจำนวนครอบครัวก์ลาที�ติั�งรกรากอย้่ที�นี�ว่ามีีเท่าใดี ส่วนสาเหติ์ที�ชาวก์ลา
             ติั�งรกรากถิ่าวรอย้่ที�หมี้่บ้านนี� และหมี้่บ้านอ่�น ๆ อีกหลายแห่งในภาคอีสานก็คล้ายกับที�บ้านโนนใหญ่่นี�

                    อย่างไรก็ติามี ข้อมี้ลที�มีีอย้่ในปัจจ์บันไมี่เพัียงพัอที�จะประมีาณไดี้ว่า พั่อค้าชาวก์ลาร์่นแรกที�ติั�งหลักแหล่ง
             อย้่ในภาคอีสานทั�งหมีดีมีีจำนวนเท่าใดี ที�พัอจะอน์มีานไดี้บ้างก็ค่อ พั่อค้าชาวก์ลาเหล่านั�นน่าจะเป็นคนกล์่มีน้อย

             ในหมี้่บ้านที�พัวกเขาเข้าไปติั�งรกรากอย้่ ดีังนั�นในทั�วภาคอีสานจึงไมี่มีีช์มีชนหร่อหมี้่บ้านใดีที�ประชากรในช์มีชน
             มีีแติ่ชาวก์ลาเท่านั�น ชาวก์ลาอย้่กันกระจัดีกระจายปนกับชาวลาวอีสานในหมี้่บ้านติ่าง ๆ เช่น ในจังหวัดี

             อ์บลราชธุ์านีและเมี่องบริวาร หลักฐานในบัญ่ชีร้ปพัรรณชาวก์ลา (ติ้องส้้) ที�ทำใน พั.ศ. ๒๔๒๘ (เข้าใจว่าไมี่ไดี้
             ครอบคล์มีก์ลาทั�งหมีดี) มีีก์ลาจำนวน ๕๖ คน กระจายอย้่ใน ๒๕ หมี้่บ้าน รวมีบ้านโนนใหญ่่ดี้วย (ธุ์นัญ่ชัย

             รสจันทร�, ๒๕๕๐: ๑๔๖) เช่�อว่าในที�อ่�น ๆ ทั�วภาคอีสานที�มีีก์ลาติั�งรกรากอย้่ก็คงมีีสภาพัไมี่ติ่างกันมีากนัก ค่อ
            ชาวก์ลาเป็นชนกล์่มีน้อยที�ติั�งรกรากอย้่ร่วมีกับชาวอีสานในช์มีชนที�พัวกเข้าอาศัยอย้่



             การกลืืนกลืายชาติิพัันธุ์์�ก์ลืา

                    ดีังที�ไดี้กล่าวแล้วข้างติ้น การกล่นกลายชาติิพัันธุ์์� (ethnic assimilation) เป็นกระบวนการที�ชนกล์่มี
             น้อยซึ�งมีีมีรดีกทางวัฒนธุ์รรมีเป็นเอกลักษณ�ของติน รับเอาลักษณะทางวัฒนธุ์รรมีของชนส่วนใหญ่่ในสังคมี

             ที�ตินอาศัยอย้่ โดียเฉพัาะภาษา ความีเช่�อ ค่านิยมี และการปฏิบัติิในชีวิติประจำวัน จนถิ่ึงระดีับที�ทำให้
             ส้ญ่เสียเอกลักษณ�เดีิมีของติน และไมี่มีีความีแติกติ่างจากคนส่วนใหญ่่ในสังคมีอีกติ่อไป การกล่นกลายทาง

             ชาติิพัันธุ์์�ติามีความีหมีายนี� ค่อสิ�งที�เกิดีขึ�นกับชนชาติิก์ลาที�เข้ามีาติั�งหลักแหล่งถิ่าวรอย้่ในภาคอีสาน
                    นับแติ่มีีหลักฐานเอกสารการติั�งรกรากของก์ลาในภาคอีสานมีาไมี่น้อยกว่า ๑๗๖ ปีแล้ว (พั.ศ. ๒๓๙๐-

             ๒๕๖๖) จากหลักฐานการติั�งรกรากของก์ลาที�บ้านโนนใหญ่่ จังหวัดีอ์บลราชธุ์านี) อาจกล่าวไดี้ว่า “ความีเป็น
             ชาติิพัันธุ์์�ก์ลา (ติ้องส้้)” ในแง่ของวิถิ่ีชีวิติหร่อวัฒนธุ์รรมีที�เป็นเอกลักษณ�เฉพัาะของชนชาติิพัันธุ์์�ก์ลา แทบไมี่เหล่อ

             อย้่แล้ว แมี้ว่าจะยังมีีถิ่าวรวัติถิ่์ เช่น อาคารบางหลังภายในวัดีที�ชาวก์ลาสร้างติามีแบบสถิ่าปัติยกรรมีพัมี่า และ
             พัระพั์ทธุ์ร้ปที�พั่อค้าก์ลานำมีาจากพัมี่า ยังพัอเหล่อให้เห็นอย้่ แติ่ “การปฏิบัติิ” ที�เกี�ยวเน่�องกับสิ�งเหล่านั�นก็ถิ่้ก

             กล่นกลายไปกับประเพัณีท้องถิ่ิ�นจนแทบไมี่มีีอะไรเหมี่อนเดีิมีแล้ว
                    บ้านโนนใหญ่่ (บ้านโนนก์ลา) อำเภอเข่�องใน จังหวัดีอ์บลราชธุ์านี เป็นกรณีติัวอย่างที�แสดีงให้เห็น

             การกล่นกลายของวัฒนธุ์รรมีก์ลาเข้ากับวัฒนธุ์รรมีลาวอีสานในท้องถิ่ิ�นไดี้เป็นอย่างดีี การกล่นกลายเกิดีขึ�นภายใน
             เวลาค่อนข้างสั�น ค่อภายใน ๒ ชั�วอาย์คนเท่านั�น ข้อมี้ลจากการศึกษาประวัติิศาสติร�ชาวก์ลาบ้านโนนใหญ่่

             สร์ปไดี้ว่า ก์ลาร์่นแรกยังมีีความีพัยายามีรักษาวัฒนธุ์รรมีและแบบแผ่นการดีำเนินชีวิติแบบก์ลาไว้พัอสมีควร
             ไมี่ว่าจะเป็นเร่�องการแติ่งกาย อาหารการกิน อาชีพัการงาน (การเร่ขายสินค้าเมี่�อว่างจากฤดี้เก็บเกี�ยว) และที�

            สำคัญ่ค่อมีีการสร้างวัดีของตินเองขึ�นติั�งแติ่ พั.ศ. ๒๓๙๖ โดียอาศัยความีร่วมีมี่อร่วมีใจกันของครอบครัวก์ลาใน
            หมี้่บ้าน ซึ�งกว่าจะสร้างเสร็จก็ใช้เวลาหลายปี (ก์ลามีีศรัทธุ์าเข้มีแข็งในพัระพั์ทธุ์ศาสนามีาแติ่เดีิมีอย้่แล้ว) วัดีที�
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129