Page 116 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 116
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที� ๔๙ ฉบัับัที� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๗
106 การกลืืนกลืายชาติิพัันธุ์์�: กรณีีก์ลืาในภาคอีีสานขอีงไทย
ติ่อมีาใน พั.ศ. ๒๕๕๘ ศ้นย�มีาน์ษยวิทยาสิรินธุ์รไดี้พััฒนาฐานข้อมี้ลกล์่มีชาติิพัันธุ์์�ในประเทศขึ�นใหมี่
ฐานข้อมี้ลนี�ใช้ช่�อกล์่มีชาติิพัันธุ์์�ติามีที�สมีาชิกของกล์่มีนั�น ๆ เรียกตินเอง หร่อช่�อที�ติ้องการให้คนอ่�นเรียกติน
(Autonym) เป็นแนวทางในการจำแนก ขณะเดีียวกันก็ให้ช่�อที�คนอ่�น/กล์่มีอ่�นในสังคมีเรียกพัวกเขา (exonym)
กำกับไว้ดี้วย ข้อมี้ลที�ไดี้จากการจัดีทำฐานข้อมี้ลใหมี่นี�ไดี้รับการปรับปร์ง และเผ่ยแพัร่ทางออนไลน� ซึ�งล่าส์ดีมีี
กล์่มีชาติิพัันธุ์์�ทั�งสิ�นจำนวน ๖๐ กล์่มี นอกจากช่�อและแผ่นที�การกระจายติัวของกล์่มีชาติิพัันธุ์์�ทั�วประเทศแล้ว
ฐานข้อมี้ลนี�ยังให้ข้อมี้ลพั่�นฐานเกี�ยวกับประวัติิศาสติร� และวัฒนธุ์รรมีของท์กกล์่มีชาติิพัันธุ์์�ดี้วย (ศ้นย�มีาน์ษยวิทยา
สิรินธุ์ร, ๒๕๖๖ก)
จากข้อมี้ลที�เสนอข้างติ้นอาจสร์ปไดี้ว่า ถิ่้าจำแนกโดียใช้ติระก้ลภาษาเป็นเกณฑิ� ประเทศไทยมีีกล์่มี
ชาติิพัันธุ์์�มีากถิ่ึง ๗๒ กล์่มี แติ่ถิ่้าจำแนกโดียใช้ช่�อที�กล์่มีชาติิพัันธุ์์�ติ่าง ๆ เรียกติัวเองเป็นเกณฑิ� มีีกล์่มีชาติิพัันธุ์์�
ทั�งสิ�น ๖๐ กล์่มี ทั�งหมีดีนี�แสดีงให้เห็นความีหลากหลายทางภาษาและชาติิพัันธุ์์�ของไทย
อนึ�ง มีีข้อสังเกติว่าจำนวนและช่�อเรียกรวมีทั�งการจำแนกกล์่มีชาติิพัันธุ์์�ไมี่จำเป็นติ้องติายติัวหร่อดีำรง
อย้่แบบถิ่าวร เพัราะชาติิพัันธุ์์�มีีความีเป็นพัลวัติ ช่�อที�ใช้เรียกติัวเองหร่อช่�อที�คนอ่�นเรียกก็อาจเปลี�ยนแปลงไปไดี้
ขึ�นอย้่กับการเปลี�ยนแปลงทางการเมี่อง สังคมี และวัฒนธุ์รรมี ในบริบทของโลกปัจจ์บัน นอกจากนี�ยังอาจขึ�น
อย้่กับเจตินารมีณ�และวัติถิ่์ประสงค�ในการใช้ อีกทั�งคนภายในแติ่ละกล์่มีชาติิพัันธุ์์�เองก็อาจจะเรียกช่�อกล์่มีของ
ตินเองไมี่เหมี่อนกัน ติัวอย่างเช่น ในกล์่มีชาติิพัันธุ์์� ลาวโซ่�ง มีีการวิจัยพับว่า สมีาชิกร์่นอาว์โสของกล์่มีชาติิพัันธุ์์�
นี�ไมี่ขัดีข้องที�จะถิ่้กเรียกว่า “ลาวโซ่ง” แติ่ร์่นที�อ่อนอาว์โสลงมีา จะพัอใจมีากกว่าหากถิ่้กเรียกว่า “ไทยโซ่ง”
(ฉวีวรรณ ประจวบเหมีาะ และวรานันท� วรวิศร�, ๒๕๔๓)
ก์ลืาคือีใคร
ถิ่้าถิ่ามีคนไทยในปัจจ์บันโดียเฉพัาะในภาคอีสานว่า ก์ลาค่อใคร คนส่วนใหญ่่คงจะติอบไมี่ไดี้ แมี้ว่า
อาจจะมีีคนจำนวนมีากที�เคยไดี้ยินเกี�ยวกับ ทุ่์�งก์ลา ในฐานะเป็นแหล่งผ่ลิติข้าวหอมีมีะลิที�มีีช่�อเสียงในปัจจ์บัน
หร่อมีิฉะนั�นก็อาจเคยไดี้ยินเร่�องราวของ ทุ่์�งก์ลาร้องไห้ อันเป็นติำนานที�เล่าขานกันมีาจากคนร์่นก่อน ๆ ว่าเป็น
ท์่งที�แห้งแล้งเหมี่อนทะเลทราย ขนาดีนักเดีินทางเท้าที�ทรหดีอย่างพั่อค้าเร่ชาวก์ลา เมี่�อมีาเผ่ชิญ่กับความีร้อน
แล้งที�โหดีร้ายขณะเดีินข้ามีท์่งอันกว้างใหญ่่นี�ยังร้องไห้ ซึ�งเป็นที�มีาของช่�อในติำนานว่า ทุ่์�งก์ลาร้องไห้ มีาจนถิ่ึง
ปัจจ์บัน
๓
๓ เมื่อประมาณ ๖๘-๗๐ ล้านปีมาแล้ว การโก่งตัวของเปลือกโลกในบริเวณที่เป็นภาคอีสานปัจจุบัน ทำาให้เกิดเทือกเขาภูพาน ซึ่งแบ่งแผ่นดิน
อีสานออกเป็น ๒ แอ่งใหญ่ คือ แอ่งสกลนคร อยู่ด้านเหนือ และ แอ่งโคราช อยู่ทางด้านใต้ ทุ่งกุลาตั้งอยู่พื้นที่ของแอ่งโคราช มีเนื้อที่ ๒.๑ ล้านไร่
มีความยาวตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ประมาณ ๑๕๐ กิโลเมตร กว้างตามแนวเหนือ-ใต้ ประมาณ ๕๐ กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ ๑๐ อำาเภอ
ของ ๕ จังหวัด คือ ร้อยเอ็ด มหาสารคาม สุรินทร์ ยโสธร และ ศรีสะเกษ (สุจิตต์ วงษ์เทศ, บ.ก., ๒๕๔๖)