Page 113 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 113

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                               ปีีที่่� ๔๙ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษาย์น ๒๕๖๗

                    รองศาสตราจารย์์ ดร.ชาย์  โพธิิสิตา                                                   103



                  บทนำ

                         ในประเทศไทยกล์่มีชนชาติิพัันธุ์์�ไมี่ไดี้มีีเฉพัาะชนกล์่มีน้อยหลายเผ่่าซึ�งอาศัยกระจัดีกระจายอย้่บนพั่�นที�
                  ส้งทางภาคเหน่อเท่านั�น แติ่ยังมีีอีกมีากที�อาศัยอย้่ในพั่�นที�ราบในท์กภาคของประเทศ กล์่มีชาติิพัันธุ์์�เหล่านี�

                  มีีจำนวนมีากที�กำลังเผ่ชิญ่กับการกล่นกลายเข้ากับวัฒนธุ์รรมีและวิถิ่ีชีวิติของประชากรส่วนใหญ่่ในท้องถิ่ิ�น
                  ขณะที�บางกล์่มีไดี้ถิ่้กกล่นกลายไปมีาก จนแทบจะไมี่สามีารถิ่ดีำรงเอกลักษณ�ทางชาติิพัันธุ์์�ของตินไว้ไดี้ในสังคมี

                  ปัจจ์บัน
                         บทความีที�จะเสนอติ่อไปนี�เป็นบันทึกเร่�องราวของชนกล์่มีน้อยที�คนในภาคอีสานเรียกว่า“ก์ลา”

                  ชนกล์่มีนี�เดีินทางเข้ามีาค้าขายและติั�งรกรากอย้่ในชนบทของหลายจังหวัดีในภาคอีสาน ติั�งแติ่ช่วงปลายพั์ทธุ์
                  ศติวรรษที� ๒๔ ก์ลาเป็น ๑ ใน ๓ ของกล์่มีพั่อค้าจากติ่างแดีนที�เข้ามีาค้าขายในชนบทอีสานในสมีัยนั�น (อีก ๒
                  กล์่มีค่อพั่อค้าชาวจีนและชาวเวียดีนามี) พั่อค้าเหล่านี�มีีส่วนสำคัญ่ในการนำระบบเศรษฐกิจที�ใช้เงินเป็นส่�อกลาง

                  ในการซ่�อขาย (money economy) เข้าส้่ชนบทอีสานในสมีัยนั�น แติ่ปัจจ์บันกล์่มีชาติิพัันธุ์์�ที�เรียกว่าก์ลานี�ไดี้
                  กล่นกลายเข้ากับกล์่มีชาติิพัันธุ์์�ของประชากรส่วนใหญ่่ในท้องถิ่ิ�นอีสานไปหมีดีแล้ว แมี้ว่าอาจจะมีีร่องรอยทาง

                  วัฒนธุ์รรมีจากอดีีติที�ยังเหล่ออย้่บ้าง แติ่สิ�งเหล่านั�นก็เป็นเพัียงเคร่�องเติ่อนใจคนร์่นหลังให้ไดี้ร้้ว่า ในท้องถิ่ิ�นนี�
                  เคยมีีกล์่มีชาติิพัันธุ์์�ที�คนในอีสานเรียกว่า “ก์ลา” อาศัยอย้่เท่านั�น

                         บทความีนี�มีีวัติถิ่์ประสงค�สำคัญ่ที�จะทำความีเข้าใจเร่�องการกล่นกลายชาติิพัันธุ์์� (ethnic assimilation)
                  โดียจะยกเอาชนชาติิก์ลามีาเป็นกรณีติัวอย่าง ข้อมี้ลทั�งหมีดีที�ใช้ในบทความีนี�เป็นข้อมี้ลเอกสาร ซึ�งรวบรวมี

                  จากแหล่งติ่าง ๆ  การนำเสนอติ่อไปนี�จะเริ�มีดี้วยการทำความีเข้าใจความีหมีายของมีโนทัศน�หลัก ๒ มีโนทัศน�
                  ค่อ ชาติพัันัธ์์ และ การกลืนักลายชาติพัันัธ์์ จากนั�นจะให้ข้อมี้ลเกี�ยวกับกล์่มีชาติิพัันธุ์์�ที�มีีอย้่ในประเทศไทย
                  และเร่�องราวของกล์่มีชาติิพัันธุ์์�ที�เรียกกันทั�วไปในภาคอีสานว่า “ก์ลา” โดียจะบรรยายให้เห็นว่า ชนกล์่มีนี�เป็น

                  ใคร เข้ามีาติั�งรกรากในภาคอีสานติั�งแติ่เมี่�อใดี และกล่นกลายหายไปในภาคอีสานอย่างไร เร่�องราวของก์ลาที�
                  เสนอในบทความีนี�มี์่งให้เป็นกรณีติัวอย่างหนึ�งของการกล่นกลายชาติิพัันธุ์์�เท่านั�น



                  ชาติิพัันธุ์์�แลืะการกลืืนกลืายชาติิพัันธุ์์�

                         ๑.  ชาติพันธิ์์
                         ในทางมีาน์ษยวิทยา มีโนทัศน� ชาติพัันัธ์์ (ethnicity) หร่อ กล์�มชาติพัันัธ์์ (ethnic group) หมีายถิ่ึง

                  “กล์่มีชนที�มีีลักษณะทางวัฒนธุ์รรมีสำคัญ่ร่วมีกัน ลักษณะทางวัฒนธุ์รรมีสำคัญ่ดีังกล่าวนี� ค่อ ภาษา ศาสนา
                  ความีเช่�อ ขนบประเพัณี ประวัติิศาสติร� ร้ปแบบของบ้านเร่อน การแติ่งกาย อาหารการกิน และการละเล่น
                  ในบางกรณีชาติิพัันธุ์์�ยังใช้หมีายรวมีถิ่ึงกล์่มีชนที�เช่�อว่าตินส่บเช่�อสายมีาจากบรรพับ์ร์ษเดีียวกันดี้วย การอ้างความี

                  เป็นกล์่มีหร่อพัวกเดีียวกันนั�น ในบางกรณีอาจเป็นเพัียงความีเช่�อปรัมีปราที�ส่บทอดีกันมีาจากร์่นส้่ร์่น โดียไมี่มีี
                  หลักฐานรองรับเลยก็ไดี้” (สำนักงานราชบัณฑิิติยสภา, ๒๕๖๑ : ๑๒๐) นอกจากนี� ในบริบทของโลกสมีัยปัจจ์บัน

                  คำว่าชาติิพัันธุ์์�บางครั�งใช้หมีายถิ่ึงชนกล์่มีน้อย (minority) ที�มีีวัฒนธุ์รรมีติ่างจากชนส่วนใหญ่่ในดีินแดีนของ
                  รัฐชาติิที�พัวกเขาอาศัยอย้่ (Barfield, 1997; Scott, 2014)
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118