Page 207 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 207

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                                ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖

                      ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์ ดร.วงเดือน  นาราสัจจ์                                          195



                           แม้จีะมีการลงนามในข้อตูกลงรูตู-ทะคะฮิระแล้วั แตู่สหรัฐอเมริกายังคงหวัาดระแวังการขยายอิทธิิพื่ล

                    ในจีีนของญี�ปิุ�น ใน ค.ศ. ๑๙๐๙ สหรัฐอเมริกาพื่ยายามใชี้นโยบายการทูตูแบบเงินดอลลาร์ (Dollar Diplomacy)
                    เพื่่�อสนับสนุนการลงทุนของนักธิุรกิจีอเมริกันในแมนจีูเรีย นโยบายนี�เปิ็นนโยบายตู่างปิระเทศของปิระธิานาธิิบดี

                    ทัฟิตู์ที� “ใชี้เงินดอลลาร์แทนที�จีะใชี้กระสุนปิืน (substitute dollars for bullets) เพื่่�อส่งเสริมชี่วัยเหล่อ
                    วัิสาหกิจีของชีาวัอเมริกันทั�วัโลก” [“Dollar Diplomacy,” ราชีบัณ์ฑิิตูยสภา (แก้ไขเพื่ิ�มเตูิม), ๒๕๕๘ : ๓๔๐]

                    สหรัฐอเมริกาเสนอให้จีีนกู้เงินจีำนวันมากเพื่่�อลงทุนสร้างทางรถไฟิในแมนจีูเรีย แตู่รัฐบาลจีีนปิฏิเสธิข้อเสนอ
                    ดังกล่าวั ทำให้สหรัฐอเมริกาไม่สามารถแทรกแซงอิทธิิพื่ลของญี�ปิุ�นในจีีนได้สำเร็จี นอกจีากนี� สหรัฐอเมริกา

                    ยังไม่สามารถปิ้องกันการขยายอิทธิิพื่ลของญี�ปิุ�นในจีีนระหวั่างสงครามโลกครั�งที� ๑ เม่�อญี�ปิุ�นฉวัยโอกาสย่�น
                    ข้อเสนอ ๒๑ ข้อ (Twenty-One Demands) ตู่อจีีนในเด่อนมกราคม ค.ศ. ๑๙๑๕ ข้อเรียกร้องดังกล่าวั

                    ส่วันใหญ่เปิ็นการเรียกร้องผ่ลปิระโยชีน์จีากจีีนซ่�งรวัมถ่งการขอให้จีีนมอบสัมปิทานในการสร้างทางรถไฟิและ
                    ทำเหม่องแร่ในมณ์ฑิลชีานตูงและสัมปิทานพื่ิเศษอ่�น ๆ ในแมนจีูเรียให้แก่ญี�ปิุ�น ทั�งยังห้ามไม่ให้จีีนมอบดินแดน

                    ตูลอดชีายฝิ่ั�งทะเลให้เปิ็นเขตูเชี่าพื่ิเศษแก่ชีาตูิอ่�น ๆ ด้วัย การบีบคั�นจีีนของญี�ปิุ�นครั�งนี�ไม่ได้รับการชี่วัยเหล่อ
                    จีากสหรัฐอเมริกาเท่าที�ควัร รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเพื่ียงแค่ปิระกาศวั่าจีะไม่ยอมรับข้อตูกลงใด ๆ ที�ละเมิด

                    หลักการของนโนบายเปิิดปิระตููปิระเทศจีีน เน่�องจีากขณ์ะนั�นปิระธิานาธิิบดีวัูดโรวั์ วัิลสัน (Woodroe Wilson
                    ค.ศ. ๑๙๑๓-๑๙๒๑) กำลังให้ควัามสำคัญกับสถานการณ์์สงครามในยุโรปิและไม่ตู้องการทุ่มเทควัามชี่วัยเหล่อ

                    จีำนวันมากเพื่่�อปิกปิ้องผ่ลปิระโยชีน์ของสหรัฐอเมริกาในเอเชีีย (ดู “Japanese-American Relations at
                    the Turn of the Century, 1900-1922,”[online] from https://history.state.gov/milestones/

                    1899-1913/japanese-relations. [2023May30])

                           การควับค่มแสนยาน่ภูาพื่ข้องกองทัพื่เร่อญี่ี�ปิ่�น

                           หลังสงครามโลกครั�ง ๑ ปิระเทศในยุโรปิที�เคยขยายอิทธิิพื่ลในจีีนล้วันมีปิัญหาภายในปิระเทศ ทำให้ไม่
                    สามารถขยายอิทธิิพื่ลได้ดังเดิม เชี่น รัสเซียมีการเปิลี�ยนแปิลงการปิกครองเปิ็นระบอบสังคมนิยมคอมมิวันิสตู์

                    ใน ค.ศ. ๑๙๑๗ และตู้องจีัดการปิัญหาภายในปิระเทศที�รวัมถ่งการกวัาดล้างกลุ่มอำนาจีเก่าที�พื่ยายามตู่อตู้าน
                    อำนาจีของรัฐบาลบอลเชีวัิก (Bolshevik) ส่วันเยอรมนีซ่�งเปิ็นผู่้แพื่้ในสงครามโลกครั�งที� ๑ และตู้องยอมรับ

                    เง่�อนไขของฝิ่�ายชีนะซ่�งรวัมถ่งการใชี้หนี�ค่าปิฏิกรรมสงครามจีำนวันมหาศาลก็จีำเปิ็นตู้องเร่งฟิื�นฟิูเศรษฐกิจี
                    ภายในปิระเทศ นอกจีากนี� อังกฤษและฝิ่รั�งเศสซ่�งแม้เปิ็นฝิ่�ายชีนะสงคราม แตู่ก็ตู้องเร่งฟิื�นฟิูปิระเทศที�ได้รับ

                    ผ่ลกระทบอย่างหนักจีากการทำสงคราม ในทางกลับกัน ญี�ปิุ�นซ่�งเปิ็นปิระเทศที�ชีนะสงครามและไม่ได้รับ
                    ผ่ลกระทบรุนแรงจีากการเข้าร่วัมสงครามกลับกลายเปิ็นชีาตูิมหาอำนาจีในเอเชีียที�ทรงอิทธิิพื่ล ญี�ปิุ�นพื่ยายาม

                    ขยายแสนยานุภาพื่ทางการทหารและอิทธิิพื่ลของตูนในภูมิภาคเอเชีียตูะวัันออกเพื่ิ�มมากข่�น พื่ร้อมทั�งเร่งสะสม
                    อาวัุธิยุทโธิปิกรณ์์และพื่ัฒนาแสนยานุภาพื่ของกองทัพื่เร่อของตูนให้ทัดเทียมชีาตูิมหาอำนาจีตูะวัันตูกเพื่่�อเปิ็น

                    ฐานกำลังในการขยายอิทธิิพื่ลของตูนในเอเชีีย
   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212