Page 209 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 209

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                                ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖

                      ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์ ดร.วงเดือน  นาราสัจจ์                                          197



                           การปิระชีุมในครั�งนี� สหรัฐอเมริกายังเปิิดโอกาสให้จีีนกับญี�ปิุ�นได้ทำข้อตูกลงทวัิภาคีที�มีสาระสำคัญ

                    ค่อญี�ปิุ�นยอมค่นเม่องท่าในชีานตูงที�ญี�ปิุ�นถ่อโอกาสย่ดจีากเยอรมนีหลังจีากเยอรมนีพื่่ายแพื่้ในสงครามโลก
                    ครั�งที� ๑ ให้แก่จีีนด้วัย


                           การปิระชีุมด้านยุทธินาวัีที�กรุงวัอชีิงตูันแสดงถ่งควัามพื่ยายามของสหรัฐอเมริกาที�จีะจีำกัดอิทธิิพื่ล
                    และลดทอนแสนยานุภาพื่ของกองทัพื่ญี�ปิุ�นในเอเชีียตูะวัันออก โดยใชี้นโยบายเปิิดปิระตููปิระเทศจีีนเปิ็นข้ออ้าง
                    ในการดำเนินนโยบายดังกล่าวั และถ่อเปิ็นควัามสำเร็จีของการดำเนินนโยบายของสหรัฐอเมริการะดับหน่�ง

                    ในขณ์ะที�ฝิ่�ายญี�ปิุ�นที�กลุ่มทหารนิยมกำลังรณ์รงค์เผ่ยแพื่ร่อุดมการณ์์รักชีาตูิอย่างเข้มข้นกลับรู้ส่กวั่าเสียเปิรียบ
                    และไม่ไวั้วัางใจีการร่วัมม่อระหวั่างปิระเทศกับชีาตูิตูะวัันตูก นอกจีากนี� ญี�ปิุ�นยังไม่พื่อใจีที�สหรัฐอเมริกาออก

                    กฎหมายกีดกันผู่้อพื่ยพื่ ค.ศ. ๑๙๒๔ (Immigration Act of 1924) ซ่�งทำให้ชีาวัญี�ปิุ�นได้รับผ่ลกระทบจีาก
                    กฎหมายนี� เพื่ราะกฎหมายกำหนดจีำนวันผู่้อพื่ยพื่ตูามโควัตูาของปิระเทศหร่อถิ�นกำเนิดของผู่้อพื่ยพื่เท่ากับ

                    ร้อยละ ๒ ของผู่้ที�ได้โอนสัญชีาตูิใน ค.ศ. ๑๘๙๐ รวัมปิีละปิระมาณ์ ๑๖๔,๐๐๐ คน (Giffard, Sidney, 1994 :
                    63-64) กฎหมายฉบับนี�มีผ่ลให้ชีาวัญี�ปิุ�นและชีาวัเอเชีียชีาตูิอ่�น ๆ ไม่สามารถอพื่ยพื่เข้าสหรัฐอเมริกาได้อีก

                    ตู่อไปิ เพื่ราะก่อนหน้านั�นไม่มีผู่้อพื่ยพื่ชีาวัเอเชีียคนใดได้รับสิทธิิให้โอนสัญชีาตูิอยู่แล้วั อน่�ง ชีาวัญี�ปิุ�นและ
                    ชีาวัเอเชีียอ่�น ๆ ยังถูกชีาวัอเมริกันเรียกแบบเหยียดผ่ิวัวั่า “ภัยผ่ิวัเหล่อง” (Yellow Peril) ด้วัย

                           โดยรวัม บทบาทและนโยบายของสหรัฐอเมริกาตู่อญี�ปิุ�นทำให้ชีาวัญี�ปิุ�นโดยเฉพื่าะกลุ่มชีาตูินิยม

                    และทหารนิยมในปิระเทศญี�ปิุ�นมีอคตูิตู่อสหรัฐอเมริกาเพื่ิ�มมากข่�น

                           การเข้้าแทรกแซงการร่กรานจีีนข้องญี่ี�ปิ่�น ค.ศ. ๑๙๓๑-๑๙๔๑
                           ในชี่วัง ๑๐ ปิีก่อนที�ญี�ปิุ�นและสหรัฐอเมริกาเข้าสู่สงครามโลกครั�งที� ๒ สถานการณ์์ในเอเชีียตูะวัันออก

                    เข้าสู่วัิกฤตูเม่�อญี�ปิุ�นรุกรานจีีน โดยไม่มีชีาตูิใดแม้แตู่สหรัฐอเมริกาใชี้กำลังเข้ายับยั�งกองทัพื่ญี�ปิุ�น ทำให้ญี�ปิุ�น
                    สามารถย่ดครองดินแดนภาคเหน่อและตูะวัันออกของจีีน ชีาวัจีีนจีำนวันมากตู้องอพื่ยพื่หนีตูายและมีเหย่�อ

                    ของการสังหารโหดหลายแสนคน

                           ในเด่อนกันยายน ค.ศ. ๑๙๓๑ ได้เกิดการปิะทะกันระหวั่างกองทัพื่จีีนและญี�ปิุ�นในดินแดนแมนจีูเรีย
                    เหตูุการณ์์นี�เรียกวั่า Mukden Incident สงครามได้ขยายควัามรุนแรงเม่�อญี�ปิุ�นนำเร่อรบบุกนครซ่างไห่ (Shanghai)

                    ซ่�งเปิ็นเม่องท่าตูามสนธิิสัญญาของนานาปิระเทศในตู้น ค.ศ. ๑๙๓๒ ทำให้ญี�ปิุ�นถูกปิระท้วัง แตู่ในที�สุดญี�ปิุ�นก็ย่ด
                    แมนจีูเรียได้สำเร็จีและจีัดตูั�งรัฐบาลแมนจีูกัวัใน ค.ศ. ๑๙๓๒ ซ่�งส่งผ่ลกระทบตู่อผ่ลปิระโยชีน์ทางการค้าของ

                    พื่ลเม่องสหรัฐอเมริกาที�ตู้องการขยายการค้าและการลงทุนในดินแดนแมนจีูเรีย โดยเฉพื่าะการลงทุนสร้างทาง
                    การรถไฟิ แตู่ขณ์ะนั�นสหรัฐอเมริกากำลังเผ่ชีิญปิัญหาเศรษฐกิจีตูกตู�ำครั�งใหญ่ (Great Depression) ในชี่วัง ค.ศ.

                    ๑๙๒๙-๑๙๓๙ ปิระธิานาธิิบดีเฮอร์เบิร์ตู คลาร์ก ฮูเวัอร์ (Herbert Clark Hoover ค.ศ. ๑๙๒๙-๑๙๓๓)
                    จี่งไม่ได้ให้ควัามสำคัญกับสถานการณ์์ในปิระเทศจีีนมากนัก ปิฏิกิริยาที�สหรัฐอเมริกามีตู่อสถานการณ์์นี�ค่อ

                    การออกแถลงการณ์์ของเฮนรี สตูิมสัน (Henry Stimson) รัฐมนตูรีวั่าการกระทรวังการตู่างปิระเทศของ
                    สหรัฐอเมริกาที�เรียกวั่า หลักการสตูิมสัน (Stimson Doctrine) ซ่�งย�ำวั่าสหรัฐอเมริกาจีะไม่ยอมรับข้อตูกลงใด ๆ
   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214