Page 210 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 210

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                           ปิีที� ๔๘ ฉบับที� ๒ พื่ฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖

               198              นโยบายเปิิดปิระตููปิระเทศจีีน : การปิูทางเพื่่�อเข้้าแทรกแซงเอเชีียตูะวัันออกข้องสหรัฐอเมริกาก่อนสงครามโลกครั�งที� ๒



              ระหวั่างญี�ปิุ�นกับจีีนที�ละเมิดตู่อสิทธิิหร่อข้อตูกลงเดิมที�สหรัฐอเมริกาเคยได้รับมาก่อน (ดู “The Mukden

              Incident of 1931 and the Stimson Doctrine,” [online] from https://history.state.gov/
              milestones/1921-1936/ mukden-incident. [2023May30]) แถลงการณ์์นี�สะท้อนถ่งนโยบายของ

              สหรัฐอเมริกาที�ไม่ยอมรับการเปิลี�ยนแปิลงสถานะเดิมของนานาปิระเทศในแผ่่นดินจีีน จี่งมีชี่�อเรียกอย่างไม่

              เปิ็นทางการอีกชี่�อหน่�งวั่า Hoover-Stimson Nonrecognition Doctrine
                      นโยบายของสหรัฐอเมริกาไม่สามารถบีบบังคับให้ญี�ปิุ�นยุตูิการกดดันจีีน เพื่ราะสหรัฐอเมริกาไม่ได้ใชี้

              มาตูรการทางเศรษฐกิจีและการทหารเพื่่�อกดดันญี�ปิุ�น เพื่ียงแตู่ใชี้วัิธิีปิระณ์ามญี�ปิุ�นที�ละเมิดข้อตูกลงตู่าง ๆ
              ที�ญี�ปิุ�นเคยร่วัมลงนาม เชี่น กตูิกาเคลล็อกก์-บรีย็อง (Kellogg-Briand Pact) ค.ศ. ๑๘๒๘ ซ่�งมีวััตูถุปิระสงค์

              เพื่่�อตู่อตู้านการใชี้สงครามเปิ็นเคร่�องม่อในการแก้ปิัญหาระหวั่างปิระเทศ (ดู “Kellogg-Briand Pact,”
              ราชีบัณ์ฑิิตูยสภา, ๒๕๖๕ : ๑๑๒-๑๑๔) ตู่อมาเม่�อแฟิรงกลิน เดลาโน รูสเวัลตู์ (Franklin Delano Roosevelt

              ค.ศ. ๑๙๓๓-๑๙๔๕) เข้าบริหารปิระเทศในสมัยแรก เขาก็ตู้องเร่งผ่ลักดันมาตูรการตู่าง ๆ ภายใตู้โครงการนิวัดีล

              (New Deal) เพื่่�อแก้ปิัญหาเศรษฐกิจีที�อยู่ในภาวัะวัิกฤตูหนัก ขณ์ะเดียวักันก็มีกระแสเรียกร้องภายในปิระเทศ
              ให้สหรัฐอเมริกากลับไปิดำเนินนโยบายโดดเดี�ยวัตูนเองตูามหลักการมอนโร ดังนั�นการแสดงจีุดย่นของ

              สหรัฐอเมริกาตูามนโยบายเปิิดปิระตููปิระเทศจีีนตู่อการรุกรานจีีนของญี�ปิุ�นในชี่วังนี�จี่งเปิ็นเพื่ียงการปิระท้วังที�
              ญี�ปิุ�นไม่ให้ควัามสำคัญ เพื่ราะญี�ปิุ�นรู้วั่าขณ์ะนั�นชีาตูิตูะวัันตูกส่วันใหญ่กำลังปิระสบปิัญหาทั�งภายในปิระเทศ

              และภายในภูมิภาค ไม่มีชีาตูิใดทุ่มเทกำลังเพื่่�อปิกปิ้องจีีน ขณ์ะเดียวักันก็ชีี�ให้เปิ็นถ่งควัามล้มเหลวัของสนธิิ
              สัญญา ๙ มหาอำนาจีที�เน้นการรับรองบูรณ์ภาพื่แห่งเขตูแดนของจีีน เพื่ราะเม่�อญี�ปิุ�นไม่ยอมปิฏิบัตูิตูาม

              ข้อตูกลงในสนธิิสัญญา ก็ไม่มีปิระเทศตูามสนธิิสัญญาปิระเทศใดบีบบังคับญี�ปิุ�นได้ แม้กระทั�งในที�ปิระชีุม

              สันนิบาตูชีาตูิ (League of Nations) ปิระเทศส่วันใหญ่ที�ตู่อตู้านพื่ฤตูิกรรมของญี�ปิุ�นก็ไม่สนับสนุนให้ใชี้กำลัง
              ทางทหารเพื่่�อชี่วัยเหล่อจีีนจีากการรุกรานของญี�ปิุ�น จี่งทำให้ญี�ปิุ�นฮ่กเหิมและรุกรานจีีนอย่างตู่อเน่�อง

                     สถานการณ์์ในปิระเทศจีีนเลวัร้ายมากข่�นในเด่อนกรกฎาคม ค.ศ. ๑๙๓๗ เม่�อเกิดการปิระทะกัน
              ระหวั่างทหารจีีนกับทหารญี�ปิุ�นที�สะพื่านมาร์โคโปิโล (Marco Polo) นอกกรุงเปิ�ย์จีิง (Beijing) หลังจีากนั�น ญี�ปิุ�นได้

              รุกรานและย่ดครองดินแดนทางเหน่อและตูะวัันออกของจีีนตู่อเน่�องไปิจีนถ่ง ค.ศ. ๑๙๔๑ ในระหวั่างนั�น กองทัพื่
              ของจีีนดำเนินการตู่อตู้านญี�ปิุ�นโดยได้รับควัามชี่วัยเหล่อจีากตู่างปิระเทศน้อยมาก สหรัฐอเมริกาไม่ได้ส่งกำลัง

              เข้ามาชี่วัยเหล่อจีีนโดยตูรง เพื่ียงแตู่ให้ควัามชี่วัยเหล่อเปิ็นเงินและอาวัุธิยุทโธิปิกรณ์์บางส่วันแก่กองทัพื่จีีน

              รวัมทั�งได้ปิระท้วังญี�ปิุ�นอย่างเปิ็นทางการพื่ร้อมขู่วั่าจีะแทรกแซงทางเศรษฐกิจีตู่อญี�ปิุ�นโดยงดขายสินค้าบางชีนิด
              ให้กับญี�ปิุ�นซ่�งส่วันใหญ่เปิ็นสินค้าปิระเภทยุทธิภัณ์ฑิ์ที�จีำเปิ็น เชี่น ยาง เหล็ก น�ำมัน

                     ใน ค.ศ. ๑๙๓๗ สถานการณ์์โลกส่อเค้าวั่าจีะเกิดสงครามใหญ่ทั�งในเอเชีียตูะวัันออกและยุโรปิ
              กลุ่มสนับสนุนนโยบายโดดเดี�ยวัตูนเองในสหรัฐอเมริกาไม่ตู้องการเข้าไปิเกี�ยวัข้องกับสงครามที�อาจีจีะข่�นใน

              อนาคตู ดังนั�นในเด่อนพื่ฤษภาคมปิีเดียวักันนั�น รัฐสภาสหรัฐอเมริกาจี่งผ่่านรัฐบัญญัตูิดำรงควัามเปิ็นกลาง
              ของสหรัฐอเมริกา (Neutrality Act of 1937) ซ่�งมีสาระสำคัญค่อ ไม่อนุญาตูให้พื่ลเม่องสหรัฐอเมริกาจีำหน่าย
   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215