Page 206 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 206
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปิีที� ๔๘ ฉบับที� ๒ พื่ฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖
194 นโยบายเปิิดปิระตููปิระเทศจีีน : การปิูทางเพื่่�อเข้้าแทรกแซงเอเชีียตูะวัันออกข้องสหรัฐอเมริกาก่อนสงครามโลกครั�งที� ๒
(Taft-Kasura Agreement) ค.ศ. ๑๙๐๕ ระหวั่างวัิลเลียม ฮาวัเวัิร์ด ทัฟิตู์ (William Howard Taft) รัฐมนตูรี
วั่าการกระทรวังสงครามในรัฐบาลของรูสเวัลตู์กับทะโร คัตูส่ระ (Taro Katsura) รัฐมนตูรีวั่าการกระทรวัง
การตู่างปิระเทศของญี�ปิุ�น ซ่�งมีสาระสำคัญค่อ สหรัฐอเมริกายอมรับการย่ดครองเกาหลีของญี�ปิุ�น ขณ์ะที�ญี�ปิุ�น
ยอมรับอธิิปิไตูยของสหรัฐอเมริกาเหน่อหมู่เกาะฟิิลิปิปิิน (“Taft-Katsura Agreement” [online]
from https://worldjpn.net/documents/texts/pw/19050729.O1E. html. [2023May28]) หลังจีากนั�น
ญี�ปิุ�นจี่งยินยอมให้สหรัฐอเมริกาเปิ็นผู่้ไกล่เกลี�ยในการทำสนธิิสัญญาสันตูิภาพื่กับรัสเซีย สหรัฐอเมริกามี
บทบาทสำคัญในการกดดันและตู่อรองข้อเรียกร้องของญี�ปิุ�นตู่อรัสเซียเพื่่�อถ่วังดุลอำนาจีของญี�ปิุ�นในเอเชีีย
ตูะวัันออก กระทั�งญี�ปิุ�นยอมลดเง่�อนไขบางปิระการลง ทำให้ญี�ปิุ�นและรัสเซียบรรลุข้อตูกลงและลงนามใน
สนธิิสัญญาสันตูิภาพื่พื่อร์ตูสมัท (Treaty of Portsmouth) ในเด่อนตูุลาคม ค.ศ. ๑๙๐๕ (ดู “Treaty of
Portsmouth and the Russo-Japanese War, 1904-1905,” [online] from https://history.state.gov/
milestones/1899-1913/portsmouth-treaty. [2023May28]) ผ่ลงานของรูสเวัลตู์ครั�งนี�ทำให้เขา
ได้รับรางวััลโนเบลสาขาสันตูิภาพื่ใน ค.ศ. ๑๙๐๖
รัฐบาลญี�ปิุ�นไม่ค่อยพื่อใจีผ่ลการเจีรจีาตูามข้อตูกลงในสนธิิสัญญาสันตูิภาพื่พื่อร์ตูสมัทเพื่ราะเห็นวั่า
สหรัฐอเมริกาพื่ยายามแทรกแซงและกีดกันผ่ลปิระโยชีน์ของญี�ปิุ�นในปิระเทศจีีน ทำให้มีชีาวัญี�ปิุ�นปิระท้วังตู่อ
ตู้านสหรัฐอเมริกาในกรุงโตูเกียวั หลังจีากนั�น ญี�ปิุ�นได้เร่งพื่ัฒนาแสนยานุภาพื่ของกองทัพื่เร่อเพื่่�อให้ทัดเทียม
กับชีาตูิตูะวัันตูก รวัมทั�งยังไม่อำนวัยควัามสะดวักให้กับพื่่อค้าอเมริกันที�เข้าไปิตูิดตู่อค้าขายในเขตูแดนของจีีน
ที�อยู่ภายใตู้การย่ดครองของญี�ปิุ�นตูามที�ผู่้แทนของญี�ปิุ�นเคยรับปิากกับรูสเวัลตู์ที�ขอให้ญี�ปิุ�นเปิิดเสรีให้กับพื่่อค้า
อเมริกันเข้าไปิค้าขายในเขตูย่ดครองของญี�ปิุ�น อย่างไรก็ตูาม รูสเวัลตู์ไม่ได้แสดงปิฏิกิริยาตูอบโตู้ใด ๆ เพื่ียงแตู่
ส่งกองเร่อรบจีำนวัน ๑๖ ลำซ่�งเรียกกันวั่า “Great White Fleet” ออกตูะเวันไปิตูามน่านน�ำตู่าง ๆ ทั�วัโลก
และแวัะเย่อนกรุงโตูเกียวัเม่�อเด่อนตูุลาคม ค.ศ. ๑๙๐๘ เพื่่�อเตู่อนให้ญี�ปิุ�นตูระหนักถ่งแสนยานุภาพื่ของ
สหรัฐอเมริกา (Brinkley, Alan, 2003 : 614-615) ดังนั�น เพื่่�อไม่ให้เกิดการเผ่ชีิญหน้าระหวั่าง ๒ ปิระเทศ
ในเด่อนถัดมา อีลิฮู รูตู (Elihu Root) รัฐมนตูรีวั่าการกระทรวังการตู่างปิระเทศของสหรัฐอเมริกากับทะคะฮิระ
โกโกโร (Takahira Kogorō) เอกอัครราชีทูตูญี�ปิุ�นปิระจีำกรุงวัอชีิงตูันจี่งได้ลงนามในข้อตูกลงรูตู-ทะคะฮิระ
(Root-Takahira Agreement) ค.ศ. ๑๙๐๘ ข้อตูกลงนี�เรียกกันอย่างไม่เปิ็นทางการวั่า ข้อตูกลงสุภาพื่บุรุษ
มีสาระสำคัญค่อ ทั�ง ๒ ฝิ่�ายยอมรับการดำรงอยู่ของสถานะเดิม (status quo) ของแตู่ละฝิ่�ายที�มีอยู่ในภูมิภาค
เอเชีียตูะวัันออก สหรัฐอเมริกายอมรับอำนาจีของญี�ปิุ�นในเกาหลีและแมนจีูเรียตูอนใตู้ ส่วันญี�ปิุ�นก็ยอมรับวั่า
มหาสมุทรแปิซิฟิิกเปิ็นพื่่�นที�เปิิดสำหรับการตูิดตู่อค้าขาย รวัมทั�งยอมรับผ่ลปิระโยชีน์ทางเศรษฐกิจีของ
สหรัฐอเมริกาในเอเชีียตูะวัันออก ตูลอดจีนยอมรับนโยบายเปิิดปิระตููปิระเทศจีีน (“Root-Takahira-
Agreement,” [online] from https://www.theodorerooseveltcenter.org/Learn-About-TR/TR-
Encyclopedia/Foreign-Affairs/Root-Takahira-Agreement. [2023May30])