Page 201 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 201

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                                ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖

                      ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์ ดร.วงเดือน  นาราสัจจ์                                          189



                    สามารถซ่�อที�ดินและสร้างโบสถ์หร่อสถานพื่ยาบาลในเขตูเม่องท่าเหล่านั�น รวัมทั�งอนุญาตูให้พื่ลเม่องของ

                    ปิระเทศคู่สัญญาเรียนภาษาจีีน โดยรวัมนับวั่าสหรัฐอเมริกาได้รับสิทธิิอย่างชีาตูิที�ได้รับอนุเคราะห์ยิ�ง (most
                    favored nation) เชี่นเดียวักับชีาตูิอ่�น ๆ นอกจีากนี� สนธิิสัญญา ค.ศ. ๑๘๔๔ ยังเปิ็นการวัางรากฐานให้

                    สหรัฐอเมริกาเข้าไปิแสวังหาผ่ลปิระโยชีน์และอ้างสิทธิิทางการค้าของชีาวัอเมริกันซ่�งเปิ็นที�มาของการปิระกาศ
                    นโยบายเปิิดปิระตููปิระเทศจีีนใน ค.ศ. ๑๘๙๙-๑๙๐๐

                           นอกจีากควัามสนใจีตูลาดการค้าในปิระเทศจีีนแล้วั เร่อของพื่่อค้าอเมริกันโดยเฉพื่าะเร่อปิระมงล่าวัาฬ
                    ยังตู้องการเข้าไปิแวัะพื่ักเพื่่�อเตูิมเสบียง เชี่�อเพื่ลิง หร่อซ่อมแซมเร่อในเขตูเม่องท่าและน่านน�ำของญี�ปิุ�น

                    แตู่เน่�องจีากญี�ปิุ�นได้ปิิดปิระเทศตูั�งแตู่คริสตู์ศตูวัรรษที� ๑๗ โดยปิิดเม่องท่าทั�งหมด ไม่อนุญาตูให้มีเร่อเข้าออก
                    ในเขตูน่านน�ำญี�ปิุ�น (ยกเวั้นเร่อบางลำที�ได้รับอนุญาตูเปิ็นกรณ์ีพื่ิเศษ) นานกวั่า ๒ ศตูวัรรษ เร่อปิระมงและ

                    เร่อของพื่่อค้าอเมริกันที�ได้รับควัามเด่อดร้อนเพื่ราะไม่สามารถแวัะพื่ักตูามเม่องท่าของญี�ปิุ�น จี่งร้องเรียนตู่อ
                    รัฐบาลสหรัฐอเมริกา  ใน ค.ศ. ๑๘๕๓ ปิระธิานาธิิบดีมิลลาร์ด ฟิิลล์มอร์ (Millard Fillmore) ได้ส่งพื่ลเร่อจีัตูวัา

                    แมตูทิวั ซี. เพื่อร์รี (Commodore Matthew C. Perry) เปิ็นผู่้แทนไปิเจีรจีากับรัฐบาลญี�ปิุ�นเพื่่�อขอเปิิด
                    เม่องท่าให้เร่อของชีาวัอเมริกันเข้าไปิค้าขายและแวัะพื่ัก เพื่อร์รีนำกองเร่อรบซ่�งเปิ็นเร่อกลไฟิขนาดเล็ก ๔ ลำ

                    เข้าไปิในอ่าวัเอโดะ (หร่ออ่าวัโตูเกียวั) และย่�นสาส์นของปิระธิานาธิิบดีฟิิลล์มอร์เพื่่�อขอเปิิดเม่องท่าให้พื่่อค้า
                    อเมริกันเข้าไปิค้าขาย หลังจีากนั�นทั�ง ๒ ปิระเทศได้ตูกลงทำสนธิิสัญญาคานากาวัะ ค.ศ. ๑๘๕๔ (ดู “Treaty of

                    Kanagawa”  [online]  from  https://www.archives.gov/exhibits/featured-documents/
                    treaty-of-kanagawa.[2023May26]) มีสาระสำคัญค่อ ญี�ปิุ�นยินยอมเปิิดเม่องท่า ๒ แห่ง ค่อ ชีิโมดะ (Shimoda)

                    และฮาโกดะเตูะ (Hakodate) ให้เร่อรบอเมริกันและเร่อล่าวัาฬเข้าไปิแวัะพื่ักเตูิมถ่านหิน และอนุญาตูให้ตูั�ง
                    สถานกงสุลอเมริกันที�เม่องชีิโมดะ แตู่ยังไม่อนุญาตูให้พื่่อค้าอเมริกันเข้าไปิตูิดตู่อค้าขายในเขตูเม่องท่าอ่�น

                    ของญี�ปิุ�น สนธิิสัญญาฉบับนี�เปิ็นการปิูทางให้กงสุลอเมริกันคนแรกค่อ ทาวัน์เซนด์ แฮร์ริส (Townsend
                    Harris) เจีรจีาตู่อรองกับรัฐบาลญี�ปิุ�นจีนสามารถทำสนธิิสัญญาทางไมตูรีและการค้า ค.ศ. ๑๘๕๘ ซ่�งเปิ็นสนธิิ

                    สัญญาทางการค้าฉบับแรกระหวั่างสหรัฐอเมริกากับญี�ปิุ�น โดยญี�ปิุ�นยินยอมเปิิดเม่องท่า ๕ เม่องให้พื่่อค้าอเมริกัน
                    เข้าไปิตูิดตู่อค้าขาย และเปิ็นจีุดเริ�มตู้นของควัามสัมพื่ันธิ์ระหวั่างสหรัฐอเมริกากับญี�ปิุ�นซ่�งผ่่านการดำเนิน
                    นโยบายเร่อปิืน (Gunboat Policy) ของสหรัฐอเมริกา นอกจีากนี� ใน ค.ศ. ๑๘๘๒ สหรัฐอเมริกายังดำเนิน

                    นโยบายเร่อปิืนบีบบังคับให้เกาหลีเปิิดเม่องท่าให้พื่่อค้าอเมริกันเข้าไปิค้าขายในดินแดนเกาหลีด้วัย (Berkin,

                    Carol and others, 1995 : 612)


                    นโยบายเปิิดปิระตููปิระเทศจีีน ค.ศ. ๑๘๙๙ และ ๑๙๐๐

                           ปิลายคริสตู์ศตูวัรรษที� ๑๙ จีีนเผ่ชีิญภัยคุกคามและแรงบีบคั�นรุนแรงจีากมหาอำนาจีตูะวัันตูกและ
                    ญี�ปิุ�นที�เข้าไปิกอบโกยผ่ลปิระโยชีน์จีากจีีน สหรัฐอเมริกาเกรงวั่าสิทธิิปิระโยชีน์ของชีาวัอเมริกันในแผ่่นดินจีีน

                    จีะได้รับผ่ลกระทบจีากสถานการณ์์ดังกล่าวั จี่งปิระกาศนโยบายเปิิดปิระตููปิระเทศจีีนใน ค.ศ. ๑๘๙๙ และ
                    ๑๙๐๐ เพื่่�อรักษาบูรณ์ภาพื่แห่งดินแดนของจีีน
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206