Page 188 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 188

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                           ปีที่่� ๔๘ ฉบับที่่� ๒ พัฤษภาคมี-สิิงห้าคมี ๒๕๖๖

               176                                    การขัับเคลื่่�อนการพััฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่นด้้วยั่ห้้องปฏิิบัติิการเร่ยั่นร้้ที่่�มี่ชี่วิติขัองมีห้าวิที่ยั่าลื่ัยั่



                ห้้องปฏิิบัติิการเร่ยั่นร้้ที่่�มี่ชี่วิติ (Living Learning Lab-LLL) เพั่�อความียั่ั�งยั่่น

                      องค์์การสหประชาชาติิประกาศให้การศึกษามื่่ส�วนสำค์ัญในการเสริมื่สร้างค์วามื่ยั่ั�งยั่่นมื่าติั�งแติ�ที่ศวรรษ

              แรกแห�งการศึกษาเพื่่�อการพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่น หร่อ UN Decade of Education for Sustainable Development
              (2005-2014) โด้ยั่การศึกษาและการเร่ยั่นรู้ที่่�มื่่ค์วามื่มืุ่�งหมื่ายั่เช�นน่�มื่่ช่�อเร่ยั่กติ�าง ๆ อาที่ิ Education for

              Sustainable Development (ESD), Education for Sustainability (EfS), Learning for Sustainability
              (LfS) การเร่ยั่นรู้เพื่่�อการพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่นเน้นการเร่ยั่นข้ามื่สาขาวิชาเพื่่�อสร้างเสริมื่ประสบการณ์ในการเปล่�ยั่นผ�าน

              บุค์ค์ลและสังค์มื่ (learning to transform oneself and society) ซึ่ึ�งติรงกับเสาหลักแห�งการเร่ยั่นรู้เสาที่่� ๕
              ที่่�เพื่ิ�มื่เติิมื่ขึ�นมื่าจุาก ๔ เสาหลักเด้ิมื่ ค์่อ การเร่ยั่นเพื่่�อรู้ (learning to know) การเร่ยั่นรู้เพื่่�อช่วิติ (learning

              to be) การเร่ยั่นรู้เพื่่�อปฏิิบัติิได้้จุริง (learning to do) และการเร่ยั่นรู้เพื่่�ออยัู่�ร�วมื่กัน (learning to live together)
              จุากการศึกษาเอกสารสรุปได้้ว�า การเร่ยั่นรู้เพื่่�อการพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่นค์่อการเร่ยั่นรู้ร�วมื่กันระหว�างผู้เร่ยั่นกับ

              ค์ณาจุารยั่์ นักวิชาการ สถาบันการศึกษา ภาค์่หุ้นส�วน และชุมื่ชน เพื่่�อสร้างสังค์มื่ที่่�มื่่ค์วามื่ยั่ั�งยั่่น การเร่ยั่นรู้
              ในรูปแบบน่�ติ้องใช้แนวที่างด้ำเนินการแบบองค์์รวมื่ที่่�มื่่ประสิที่ธิภาพื่ที่ั�งในส�วนสถาบันการศึกษาและชุมื่ชน

              (whole-institution and community approach) สามื่ารถประสานการสร้างค์วามื่เป็นพื่ลเมื่่องโลก
              (global citizenship) เข้ากับการศึกษาเพื่่�อการพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่น และการเร่ยั่นรู้ในบริบที่จุริง หากสถาบันการศึกษา

              ติ้องการประยัุ่กติ์การเร่ยั่นรู้เพื่่�อการพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่นมื่าใช้ในที่างปฏิิบัติิค์วรค์ำนึงถึงหลักที่่�เร่ยั่กว�า “วิถ่ส่� C”
              หร่อ the ‘four Cs’ approach ประกอบด้้วยั่หลักสูติร (curriculum) ที่่�ติั�งของสถาบัน (campus) วัฒนธรรมื่

              (culture) และชุมื่ชน (community) กล�าวค์่อ สถาบันการศึกษาติ้องเป็นผู้นำในการพื่ัฒนาหลักสูติร
              (curriculum) ให้มื่่การนำแนวค์ิด้การเร่ยั่นรู้เพื่่�อการพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่นมื่าใช้ในการกำหนด้ผลลัพื่ธ์การเร่ยั่นรู้ของ

              โปรแกรมื่  (Program Learning Outcomes-PLO) และผลลัพื่ธ์การเร่ยั่นรู้ของรายั่วิชา (Course Learning
              Outcomes-CLO) โด้ยั่เน้นการเร่ยั่นรู้เชิงสหวิที่ยั่าการ และการเสริมื่สร้างสมื่รรถนะด้้านค์วามื่ยั่ั�งยั่่น

              (sustainability competencies) ที่ั�งในด้้านค์วามื่รู้ ที่ักษะ ที่ัศนค์ติิ ค์�านิยั่มื่ และการลงมื่่อปฏิิบัติิ ส�วน
              ค์ณะวิชา/สาขาวิชาในองค์์กรสถาบัน (campus) ติ้องเปิด้โอกาสให้ใช้อาค์ารสถานที่่� สิ�งอำนวยั่ค์วามื่สะด้วก

              เพื่่�อสร้างและด้ำเนินโค์รงการด้้านค์วามื่ยั่ั�งยั่่นที่่�เป็นส�วนหนึ�งของการเร่ยั่นรู้เพื่่�อค์วามื่ยั่ั�งยั่่นในองค์์กร/ชุมื่ชน
              สถาบันการศึกษาติ้องสร้างวัฒนธรรมื่ (culture) หร่อวิถ่ช่วิติแห�งค์วามื่ยั่ั�งยั่่นค์วบค์ู�กับการผูกสัมื่พื่ันธ์ที่่�ด้่กับ

              ชุมื่ชน (community) โด้ยั่สถาบันการศึกษาติ้องสร้างการยั่อมื่รับค์วามื่หลากหลายั่ที่างวัฒนธรรมื่ ส�งเสริมื่
              การเข้าร�วมื่กิจุกรรมื่ด้้านวัฒนธรรมื่ที่่�แติกติ�างกันในชุมื่ชนและสังค์มื่ รวมื่ที่ั�งส�งเสริมื่ให้ประชาค์มื่ในสถาบัน

              การศึกษามื่่ค์วามื่รู้ ให้การเค์ารพื่และใส�ใจุสิที่ธิ ค์วามื่รับผิด้ชอบ ค์�านิยั่มื่ และค์วามื่เห็นติ�างของบุค์ค์ล ติลอด้จุน
              ส�งเสริมื่ให้เกิด้การติระหนักรู้และค์วามื่เข้าใจุกระบวนการแบบมื่่ส�วนร�วมื่ระหว�างสถาบันการศึกษากับชุมื่ชน

              ในทีุ่กขั�นติอนของการด้ำเนินโค์รงการเพื่่�อค์วามื่ยั่ั�งยั่่นซึ่ึ�งรวมื่ถึงการร�วมื่ค์ิด้ ร�วมื่ติัด้สินใจุ ร�วมื่สร้าง และร�วมื่
              รับผิด้ชอบ
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193