Page 191 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 191
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษ์ภาคุมื-สิงหาคุมื ๒๕๖๖
ศาสตราจารย์์กิิตติคุุณ ดร.ชนิิตา รักิษ์์พลเมืือง 179
- มื่หาวิที่ยั่าลัยั่บริติิชโค์ลัมื่เบ่ยั่ (University of British Columbia) ประเที่ศแค์นาด้า มื่่นโยั่บายั่
ให้ค์ณาจุารยั่์ บุค์ลากร และนักศึกษาของมื่หาวิที่ยั่าลัยั่ร�วมื่กับหน�วยั่งานภาค์รัฐ ภาค์เอกชน และ
องค์์กร องค์์กรพื่ัฒนาเอกชน ได้้ใช้ที่รัพื่ยั่ากรของมื่หาวิที่ยั่าลัยั่ที่ั�งที่รัพื่ยั่ากรด้้านอาค์ารสถานที่่�
องค์์ค์วามื่รู้ งานวิจุัยั่ และเที่ค์โนโลยั่่ เพื่่�อส�งเสริมื่การพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่น เป็นการถ�ายั่ที่อด้ค์วามื่รู้
(transfer the knowledge) จุากมื่หาวิที่ยั่าลัยั่ไปสู�ชุมื่ชน มื่่โค์รงการ เช�น โค์รงการพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่น
ด้้วยั่การศึกษาการพื่ัฒนาด้้านสังค์มื่ สิ�งแวด้ล้อมื่ เศรษฐกิจุ (Social Ecological Economic
Development Studies (SEEDS) Sustainability Program) ศูนยั่์ระบบอาหารที่่�ยั่ั�งยั่่น (Centre
for Sustainable Food Systems) ระบบพื่ลังงานอัจุฉริยั่ะ (Smart Energy System)
ร้ปแบบห้้องปฏิิบัติิการเร่ยั่นร้้ที่่�มี่ชี่วิติขัองมีห้าวิที่ยั่าลื่ัยั่ (University Living Learning Lab
Model) เพั่�อขัับเคลื่่�อนการพััฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่น
ผู้เข่ยั่นได้้นำค์วามื่รู้และที่ักษะที่่�ได้้จุากการประชุมื่เชิงปฏิิบัติิการด้้านห้องปฏิิบัติิการที่่�มื่่ช่วิติมื่า
ประกอบกับประสบการณ์การที่ำงานด้้านค์วามื่ยั่ั�งยั่่นในชุมื่ชนที่่�เป็นห้องปฏิิบัติิการที่างสังค์มื่ (social living
lab) ที่่�มื่หาวิที่ยั่าลัยั่รับผิด้ชอบอยั่�างติ�อเน่�อง มื่าประยัุ่กติ์กับการด้ำเนินงานของมื่หาวิที่ยั่าลัยั่สยั่ามื่เพื่่�อ
พื่ัฒนารูปแบบในที่างปฏิิบัติิ และได้้เสนอรูปแบบการเร่ยั่นรู้เพื่่�อการพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่นเร่ยั่กว�า “สามื่เหล่�ยั่มื่ห้องปฏิิบัติิ
การเร่ยั่นรู้ที่่�มื่่ช่วิติ” (The Triangle of Living Learning Lab) เป็นรูปแบบในเชิงโค์รงสร้างที่่�ได้้พื่ัฒนาบนฐาน
แนวค์ิด้การเปล่�ยั่นแปลงที่ั�งระบบ (Whole-Institution Approach-WIA) กับรูปแบบ “ภาค์่สามื่ประสาน
เพื่่�อการพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่นในที่้องถิ�น” (UPC4Local SDGs Action Model) ซึ่ึ�งเป็นรูปแบบเชิงปฏิิบัติิการที่่�มื่่จุุด้
มืุ่�งหมื่ายั่ในการนำมื่หาวิที่ยั่าลัยั่เป็นกลไกของการขับเค์ล่�อนการพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่น ด้ังแสด้งในแผนภาพื่ด้ังติ�อไปน่�
แผู้นภาพัที่่� ๑ สามื่เหล่�ยั่มื่ห้องปฏิิบัติิการเร่ยั่นรู้ที่่�มื่่ช่วิติ (The Triangle of Living Learning Lab)
ที่่�มื่า : พื่ัฒนาโด้ยั่ ชนิติา รักษ์พื่ลเมื่่อง