Page 186 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 186

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                           ปีที่่� ๔๘ ฉบับที่่� ๒ พัฤษภาคมี-สิิงห้าคมี ๒๕๖๖

               174                                    การขัับเคลื่่�อนการพััฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่นด้้วยั่ห้้องปฏิิบัติิการเร่ยั่นร้้ที่่�มี่ชี่วิติขัองมีห้าวิที่ยั่าลื่ัยั่



              (knowledge sharing) การสร้างค์วามื่ร�วมื่มื่่อ (collaboration) และการที่ด้ลอง (experimenting) ในสภาพื่

              แวด้ล้อมื่จุริง Ballon & Schuurman (2015) ได้้กล�าวถึงห้องปฏิิบัติิการที่่�มื่่ช่วิติว�าเป็นการร�วมื่มื่่อกันของ
              ชุมื่ชนในฐานะผู้ร�วมื่สร้างองค์์ค์วามื่รู้ ที่่�สามื่ารถเกิด้ขึ�นได้้ที่ั�งในชุมื่ชนที่่�มื่่บริบที่ออนไลน์และออฟไลน์

                      จุากการประมื่วลเอกสารที่่�เก่�ยั่วข้องสามื่ารถสรุปได้้ว�าห้องปฏิิบัติิการที่่�มื่่ช่วิติเป็นการที่ำงานร�วมื่กัน
              (synergy) ที่่�มื่่ลักษณะด้ังน่� (Soliman-Junior, et. al. 2021)

                     -  ความีติ้องการแลื่ะค่านิยั่มีขัองผู้้้ใชี้ (users’ needs and values) ห้องปฏิิบัติิการที่่�มื่่ช่วิติให้
                        ค์วามื่สำค์ัญกับการริเริ�มื่ที่่�เกิด้จุากผู้ใช้นวัติกรรมื่เพื่่�อติอบโจุที่ยั่์ค์วามื่ติ้องการแบบเจุาะจุง

                     -  การที่ำงานแบบมี่ส่วนร่วมี (participatory approach) ห้องปฏิิบัติิการที่่�มื่่ช่วิติเกิด้จุากการ
                        ที่ำงานแบบมื่่ส�วนร�วมื่ด้้วยั่การร�วมื่สร้าง (co-creation) ติั�งแติ�เริ�มื่ติ้น การกำหนด้ pain point

                        การสร้างติ้นแบบ ไปจุนถึงการพื่ัฒนานวัติกรรมื่
                      -  การมี่ส่วนร่วมีขัองผู้้้มี่ส่วนได้้ส่วนเส่ยั่ติั�งแติ่เริ�มีแรก (early stakeholder involvement;

                        team forming and initiation) ห้องปฏิิบัติิการที่่�มื่่ช่วิติติ้องกำหนด้ผู้มื่่ส�วนได้้ส�วนเส่ยั่และ
                        สามื่ารถที่ำให้เข้ามื่าผูกพื่ัน (engage) ในกระบวนการสร้างที่่มื่ติั�งแติ�แรกเริ�มื่ โด้ยั่มื่่การส่�อสารให้

                        เกิด้ค์วามื่เข้าใจุอันด้่ในด้้านค์วามื่สัมื่พื่ันธ์ ขอบข�ายั่หน้าที่่� เพื่่�อป้องกันค์วามื่ขัด้แยั่้งภายั่หลัง
                      -  สภาพัแวด้ลื่้อมีที่่�เอ่�อติ่อการสร้างความีร่วมีมี่อแลื่ะความีโปร่งใส (environment that

                        supports collaboration, transparency) ห้องปฏิิบัติิการที่่�มื่่ช่วิติด้ำเนินงานในบริบที่ช่วิติจุริง
                        จุึงค์วรสร้างค์วามื่เข้าใจุหร่อเจุติจุำนงร�วมื่ที่่�ด้่พื่ร้อมื่กับการด้ำเนินงานแบบโปร�งใสและค์วามื่ร�วมื่มื่่อ

                        อันด้่ระหว�างผู้มื่่ส�วนได้้ส�วนเส่ยั่
                      -  กระบวนการวนซ้�ำ (iterative process) ห้องปฏิิบัติิการที่่�มื่่ช่วิติเน้นการประเมื่ิน ติรวจุสอบ

                        และการให้ข้อมืู่ลยั่้อนกลับหลายั่ ๆ ค์รั�งเพื่่�อให้เกิด้การพื่ัฒนาอยั่�างติ�อเน่�องที่ั�งในการกระบวนการ
                        ที่ำงานและการพื่ัฒนาผลิติภัณฑ์์ที่่�จุะติอบโจุที่ยั่์ค์วามื่ติ้องการของผู้ใช้

                      -  วงจรยั่้อนกลื่ับ (feedback loops) ห้องปฏิิบัติิการที่่�มื่่ช่วิติติ้องมื่่การให้ข้อมืู่ลยั่้อนกลับติลอด้ใน
                        ทีุ่กช�วงเวลาของการด้ำเนินงานโด้ยั่มืุ่�งหมื่ายั่จุะลด้เวลาการพื่ัฒนางาน/ผลิติภัณฑ์์ที่่�ติอบโจุที่ยั่์

                        ค์วามื่ติ้องการ ของผู้ใช้
                      จุากการศึกษาพื่ัฒนาการของแนวค์ิด้ห้องปฏิิบัติิการที่่�มื่่ช่วิติพื่บว�า แนวค์ิด้ด้ังกล�าวได้้รับการนำเสนอ

              ในวงวิชาการมื่าติั�งแติ�ช�วงที่ศวรรษ ๑๙๙๐ แติ�ค์ำว�า “ห้องปฏิิบัติิการที่่�มื่่ช่วิติ (Living Lab)” ได้้รับการบัญญัติิ
              ขึ�นโด้ยั่ วิลเล่ยั่มื่ มื่ิที่เชลล์ (William Mitchell) จุากสถาบันเที่ค์โนโลยั่่แห�งแมื่สซึ่าชูเซึ่ติส์ สหรัฐอเมื่ริกา

              ในช�วงติ้นที่ศวรรษ ๒๐๐๐ โด้ยั่ในระยั่ะแรกใช้อธิบายั่ถึงระเบ่ยั่บวิธ่การวิจุัยั่ที่่�ผู้ใช้เป็นศูนยั่์กลาง (user-centric
              research methodology) ในการกำหนด้ปัญหา สร้างติ้นแบบ (prototype) ที่ด้สอบ แก้ปัญหาที่่�สลับ

              ซึ่ับซึ่้อนและมื่่การเปล่�ยั่นแปลงอยัู่�ติลอด้เวลาในบริบที่ช่วิติจุริง (อ้างถึงใน Eriksson et al., 2006; Van
              Geenhuizen, 2019) ในที่างปฏิิบัติิ สหภาพื่ยัุ่โรปได้้จุัด้ติั�งเค์ร่อข�ายั่ห้องปฏิิบัติิการที่่�มื่่ช่วิติแห�งยัุ่โรป
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191