Page 193 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 193
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษ์ภาคุมื-สิงหาคุมื ๒๕๖๖
ศาสตราจารย์์กิิตติคุุณ ดร.ชนิิตา รักิษ์์พลเมืือง 181
(Course Learning Outcomes-CLO) ให้สอด้ค์ล้องกัน ขณะเด้่ยั่วกันมื่หาวิที่ยั่าลัยั่ก็ได้้ประกาศนโยั่บายั่ให้
บูรณาการค์วามื่ยั่ั�งยั่่นในงานวิชาการ วิจุัยั่ และบริการชุมื่ชนด้้วยั่
๓) ระบบนิเวศการเร่ยั่นร้้ (Learning Ecosystem-LE) ปัจุจุัยั่สำค์ัญอ่กประการหนึ�งในการ
ขับเค์ล่�อนห้องปฏิิบัติิการเร่ยั่นรู้ที่่�มื่่ช่วิติในมื่หาวิที่ยั่าลัยั่ ค์่อ การสร้างระบบนิเวศการเร่ยั่นรู้ที่่�จุำเป็น ระบบ
ด้ังกล�าวมื่่องค์์ประกอบหลัก ๔ ประการ ค์่อ (๑) บั่คีคีล (People) หมื่ายั่รวมื่ถึง การพื่ัฒนาผู้เร่ยั่น ผู้สอน
ค์ณาจุารยั่์ บุค์ลากร และสมื่าชิกในชุมื่ชนที่่�ร�วมื่โค์รงการ ให้มื่่สมื่รรถนะด้้านค์วามื่ยั่ั�งยั่่นที่่�จุำเป็น (๒) ศาสตร์
และศิลปั์ในัการเรียนัร้้ (Pedagogy and Delivery Modes) ปรับกิจุกรรมื่การการเร่ยั่นรู้ให้เป็นแบบเชิงรุกใน
พื่่�นที่่�จุริงด้้วยั่การเน้นการเร่ยั่นรู้แบบใช้โค์รงการ/ปัญหาเป็นฐาน (project/problem-based learning)
การเร่ยั่นรู้ด้้วยั่การบริการสังค์มื่ (service learning) การเร่ยั่นจุากประสบการณ์ (experiential learning) และ
การเร่ยั่นรู้โด้ยั่ใช้ชุมื่ชนเป็นฐาน (community-based learning) โด้ยั่ในแติ�ละวิชาจุะมื่่ที่่มื่ค์ณาจุารยั่์ผู้สอน
และผู้ที่รงค์ุณวุฒิให้ค์ำปรึกษาติลอด้ระยั่ะเวลาการที่ำโค์รงการของนักศึกษา (๓) โคีรงสร้างพัื�นัฐานัการเรียนัร้้
(learning infrastructure) หมื่ายั่ถึงการสร้างโค์รงสร้างพื่่�นฐานที่่�เอ่�ออำนวยั่ติ�อการเร่ยั่นรู้ที่ั�งด้้านกายั่ภาพื่
เที่ค์โนโลยั่่ การเงิน และพื่ัฒนาบุค์ลากรที่่�เก่�ยั่วข้องให้มื่่ค์ุณลักษณะที่่�พื่ึงประสงค์์ (๔) ชิ่มชินัแห�งการเรียนัร้้
(learning community) มื่่เป้าหมื่ายั่เพื่่�อสร้างภาค์่การเร่ยั่นรู้เพื่่�อการพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่น จุากการสานค์วามื่สัมื่พื่ันธ์
กับเค์ร่อข�ายั่ภาค์รัฐ เอกชน และชุมื่ชนให้มื่าเป็นหุ้นส�วนร�วมื่พื่ัฒนา โด้ยั่ภาค์่ที่่�มื่าร�วมื่เป็นห ุ้นส�วนการพื่ัฒนานั�น
จุะประกอบด้้วยั่ภาค์ส�วนใด้ขึ�นอยัู่�กับลักษณะของปัญหาของชุมื่ชนที่่�เป็นห้องปฏิิบัติิการที่างสังค์มื่โด้ยั่อาจุ
เป็นภาค์่ที่ั�งในประเที่ศและนานาชาติิ ที่ั�งน่� ภาค์่ด้ังกล�าวค์วรจุะติ้องมื่่แรงบันด้าลใจุ (passion) ที่่�จุะร�วมื่
ป้องกันหร่อแก้ปัญหาด้้านค์วามื่ยั่ั�งยั่่น มื่่ค์วามื่เข้าใจุในบริบที่ของผู้ใช้บริการที่่�อาจุเป็นองค์์กรหร่อชุมื่ชน
ที่้องถิ�น สามื่ารถร�วมื่กันเล่อกประเด้็นที่่�มื่่ผลกระที่บสูงและมื่่ค์วามื่จุำเป็นเร�งด้�วนเป็นปัญหาหร่อจุุด้อ�อน
(pain point) ที่่�จุะนำค์วามื่รู้ค์วามื่เช่�ยั่วชาญของมื่หาวิที่ยั่าลัยั่ไปด้ำเนินกิจุกรรมื่หร่อโค์รงการเพื่่�อเปล่�ยั่นเป็น
จุุด้แข็ง (gain point) และในส�วนน่�เองที่่�ผู้เข่ยั่นได้้เสนอให้นำรูปแบบเชิงปฏิิบัติิการภาค์่สามื่ประสานเพื่่�อ
การพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่นในที่้องถิ�น (UPC4Local SDGs Action Model) มื่าใช้ในการด้ำเนินงาน
โมีเด้ลื่การที่ำงานแบบภาค่สามีประสานเพั่�อการพััฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่นในที่้องถิ่ิ�น (UPC4Local SDGs)
ยั่�อมื่าจุากภาค์่มื่หาวิที่ยั่าลัยั่ ภาค์รัฐ/เอกชน และชุมื่ชนเพื่่�อการพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่นในที่้องถิ�น (University-Public/
Private Sector-Community for Local SDGs) เป็นรูปแบบเชิงปฏิิบัติิการ (Action Model) ซึ่ึ�งเป็น
รูปแบบการที่ำงานร�วมื่กัน (synergy) ของภาค์่หุ้นส�วนการพื่ัฒนาโด้ยั่มื่่มื่หาวิที่ยั่าลัยั่เป็นแกนนำในการสร้าง
ภาค์่ภายั่ใติ้หลักภูมื่ิสังค์มื่ หลักค์ิด้ในการที่ำงานพื่ัฒนา “เข้าใจุ เข้าถึง พื่ัฒนา” และค์ำสอนที่่�ว�า “เราไมื่�ค์วรให้
ปลาแก�เขา แติ�ค์วรจุะให้เบ็ด้ติกปลาและสอนให้รู้จุักวิธ่ติกปลาจุะด้่กว�า” ของพื่ระบาที่สมื่เด้็จุพื่ระบรมื่
ชนกาธิเบศร มื่หาภูมื่ิพื่ลอดุ้ลยั่เด้ชมื่หาราช บรมื่นาถบพื่ิติร ในการปฏิิบัติิการในรูปแบบน่� หุ้นส�วนทีุ่กภาค์ส�วน
จุะมื่่บที่บาที่ในการด้ำเนินงานเพื่่�อแสวงหาวิถ่การพื่ัฒนาที่่�ยั่ั�งยั่่นผ�านการเร่ยั่นรู้ร�วมื่กันเร่ยั่กว�า “๔ร�วมื่”
(“4Cos”) ค์่อ ร�วมื่สร้าง (co-create) ร�วมื่ออกแบบ (co-design) ร�วมื่ผลิติ (co-produce) และร�วมื่สะที่้อนค์ิด้
(co-reflect) ติามื่หลักการที่ำงานแบบมื่่ส�วนร�วมื่ (participatory approach) ที่่�เป็นจุุด้เน้นของห้องปฏิิบัติิการ
ที่่�มื่่ช่วิติ