Page 68 - วารสาร 48-1
P. 68
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
58 สุุภาษิิตจีีนในโคลงโลกนิติ
รู้น้อยว่ามุากรู้ เริงใจี
กลกบเกิดอยู่ใน สุระจี้อย
ไป่่เห็นชเลไกล กลางสุมุุทร
ชมุว่านำ�าบ่อน้อย มุากลำ�าลึกเหล่อ
(โคีลงโลกนัิติ ดี : ๕๖)
ทั�งคาถึาภาษิาบาล้ีแล้ะโคล้งโล้กนิติบทที� ๕๖ ตรงกับสุำานวนสุุภาษิิตของจีน 井蛙之見
jǐng wā zhī jiàn (2006: 650) ‘การเห็นของกบในบ่อ’ หมายถึึง ‘กบในบ่อย่อมเห็นโล้กเฉพาะแต่
ในบ่อ, กบในบ่อย่อมเห็นโล้กมาน้อย ค่อ โล้กแคบ มีป็ระสุบการณ์น้อย’ สุำานวนนี�มีนิทานไขสุุภาษิิต
อย่่ในคัมภีร์ชุ่�อ 秋水 Qiū Shuǐ ผู้ล้งานของ 莊子 Zhuāngzǐ นักป็รัชุญานามอุโฆ์ษิในสุมัยสุงคราม
๒๒
ระหว่างแคว้น (戰國 Zhànguó ๔๘๐–๒๒๑ ป็ีก่อน ค.ศึ.) ความโดียรวมว่า
มีบ่อเก่าร้างแห่งหนึ�ง มีกบตัวหนึ�งอาศึัยอย่่ วันหนึ�งกบไดี้พบกับเต่าตัวใหญ่เพิ�งมาจากทะเล้
บ่รพา กบคุยอวดีอย่างภ่มิใจอย่างที�สุุดีว่า ตนอย่่ในบ่อนำ�ามีความสุุขมาก ไดี้กระโดีดีเล้่นบนขอบบ่อ
๒๓
เหน่�อยนักก็พักอย่่ในร่องอิฐที�ก่อเป็็นบ่อ มีนำ�าใสุให้แหวกว่ายเล้่น พอเจอโคล้นก็เอาเท้าซึุ่กเล้่นในโคล้น
สุำาราญใจ มองไป็รอบ ๆ ไม่ว่าจะกุ้ง ป็่ หร่อหม่่ล้่กอ๊อดี ไม่มีใครจะมีความสุุขไดี้เท่าตนอีกแล้้ว บ่อนี�
เป็็นที�สุุขสุำาราญอย่างที�สุุดี กล้่าวจบก็เชุ่�อเชุิญให้เต่าใหญ่เข้ามาชุมบ่อนำ�าของตน เต่าทำาตามคำาเชุิญของ
กบน้อย แต่พอก้าวขาซึ่้ายล้งไป็ เข่าขวาก็ติดี เต่าจึงไดี้ถึอนขาของตนออกจากบ่อแล้้วพรรณนาถึึงทะเล้
บ่รพาให้กบฟัังว่า เป็็นทะเล้ที�กว้างใหญ่ไพศึาล้เพียงใดี ต่อให้เป็็นระยะทางไกล้ถึึงพันล้ี�ก็ไม่อาจเทียบ
ไดี้กับความกว้างของทะเล้ แม้ดีำานำ�าล้ึกถึึงพันศึอก ก็ยังหยั�งไม่ถึึงความล้ึกของทะเล้ ในรัชุสุมัยพระเจ้าอ่๋
(禹 Yǔ) เกิดีอุทกภัยนานถึึง ๙ ใน ๑๐ ป็ี ก็ไม่ไดี้ทำาให้นำ�าในทะเล้บ่รพาเพิ�มป็ริมาณขึ�นแม้แต่น้อย
๒๔
แล้ะในรัชุสุมัยของพระเจ้าทึง (湯 Tāng) แม้ว่าเกิดีภัยแล้้งถึึง ๗ ใน ๘ ป็ี นำ�าในทะเล้บ่รพาก็มิไดี้
๒๕
ล้ดีน้อยล้งเล้ย ทะเล้บ่รพาไม่เคยเป็ล้ี�ยนแป็ล้ง ไม่เพิ�มขึ�น ไม่ล้ดีน้อยล้ง ไม่ว่าจะเป็็นฤดี่สุั�น ๆ หร่อ
กาล้เวล้าอันยาวนาน ไม่ว่าจะในสุภาวะเชุ่นไร ความสุุขที�ยิ�งใหญ่ที�สุุดีค่อไดี้แหวกว่ายในทะเล้บ่รพา
๒๒ 莊子 Zhuāngzǐ มีอีกชุ่�อหนึ�งว่า 莊周 Zhuāng Zhōu
๒๓ ทะเล้บ่รพา แป็ล้จากคำาภาษิาจีน 東海 Dōnghǎi หมายถึึง “มหาสุมุทรแป็ซึ่ิฟัิก”
๒๔ พระเจ้าอ่๋ หร่อ พระเจ้าอ่๋มหาราชุ (大禹 Dà Yǔ: ๒,๒๐๐–๒,๑๐๐ ป็ีก่อน ค.ศึ.) เป็็นป็ฐมบรมกษิัตริย์แห่งราชุวงศึ์แห้ (夏 Xià
๒,๐๐๐–๑,๕๒๐ ป็ีก่อน ค.ศึ.) เดีิมเป็็นสุามัญชุน มีพระสุมัญญาว่า พระเจ้าอ่�มหาราชิผู้่้จัด็การนัำ�าท์่วม (大禹 治水 Dà Yǔ zhìshuǐ)
ดี่ป็ระวัติของพระเจ้าอ่๋ตั�งแต่รับราชุการจนไดี้เป็็นกษิัตริย์ในวรรณกรรมอิงพงศึาวดีารจีนแป็ล้ เร่�องไคีเภ็ก (๒๕๔๙ : ๒๐๑–๓๐)
๒๕ พระเจ้าทึง (湯 Tāng ๑,๖๗๕–๑,๖๔๖ ป็ีก่อน ค.ศึ) ป็ฐมกษิัตริย์แห่งราชุวงศึ์เซึ่ียง (商 Shāng ๑,๕๒๐–๑,๐๓๐ ป็ีก่อน ค.ศึ.)