Page 72 - วารสาร 48-1
P. 72

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
           62                                                                 สุุภาษิิตจีีนในโคลงโลกนิติ


                    หล้ักฐานในเอกสุารทั�งสุองนี�แสุดีงให้เห็นว่า ชุนชุั�นนำาของไทยสุมัยก่อน ไดี้แก่ กษิัตริย์

           พระราชุบุตร แล้ะอาจรวมถึึงขุนนางซึ่ึ�งเป็็นผู้่้ดีีมีตระก่ล้ ต้องขวนขวายเรียนภาษิาต่างป็ระเทศึจำานวนมาก

           รวมทั�งภาษิาจีนเพ่�อเป็็นอาภรณ์ป็ระดีับกาย อนุมานว่าสุมเดี็จพระเจ้าบรมวงศึ์เธอ กรมพระยาเดีชุาดีิศึร
           ก็ทรงไดี้รับการป็ระสุิทธิ�ป็ระสุาทวิชุาภาษิานานารวมทั�งภาษิาจีนดี้วยเชุ่นกัน ดี้วยภาษิาจีนเป็็นภาษิา
           สุำาคัญในทางการค้ามาแต่โบราณ กับทั�งยังเป็็นป็ระต่สุำาคัญที�เป็ิดีให้ไดี้เรียนร่้วิทยาการของชุนชุาติ

           ที�มีอารยธรรมยิ�งใหญ่ต่อเน่�องมาอย่างยาวนาน เชุ่นนี� ย่อมเป็็นไป็ไดี้ว่า สุมเดี็จฯ กรมพระยาเดีชุาดีิศึร

           ย่อมต้องร่้จักสุุภาษิิตจีนไม่มากก็น้อย เพียงพอที�จะทรงนำามาแป็ล้แต่งเป็็นโคล้งโล้กนิติ แล้ะดี้วยความร่้
           ที�สุ่งเสุริมให้พระองค์ทรงเข้าถึึงภ่มิป็ัญญาของจีน จึงไม่น่าแป็ล้กใจที�พระองค์ทรงไดี้รับความไว้วาง
           พระราชุหฤทัยให้ทรงรับราชุการในกรมพระอาล้ักษิณ์มาตั�งแต่รัชุกาล้พระบาทสุมเดี็จพระพุทธเล้ิศึหล้้า

           นภาล้ัยจนถึึงรัชุกาล้พระบาทสุมเดี็จพระจอมเกล้้าเจ้าอย่่หัว (กรมศึิล้ป็ากร, ๒๕๕๔ : ๒๓) จนพระบาท

           สุมเดี็จพระจอมเกล้้าเจ้าอย่่หัวทรงยกย่องว่า “ทรงพระสุติป็ัญญาสุามารถึ ฉล้าดีในโวหารอันควร
           แล้ไม่ควร แล้ะสุรรพพจน์โวหารใน สุยามาทิพากย์พิเศึษิต่าง ๆ หาผู้่้จะเสุมอมิไดี้ในการบัดีนี�...
           เป็็นมหาสุยามกวีชุาตินักป็ราชุญ์อันป็ระเสุริฐ” (ราชิบััณฑิิตยสถานั, ๒๕๕๗ : ๓๗๓)

                    ในสุมัยรัตนโกสุินทร์ตอนต้น ชุนชุั�นนำาของไทยเข้าใจไป็ว่า นิยายอิงพงศึาวดีารจีนที�ชุาวจีน

           อ่านเพ่�อป็ระเท่องสุติป็ัญญาแล้ะสุำาราญอารมณ์เป็็นพงศึาวดีารจีนโดียแท้ คนไทยจึงถึ่อเอาสามก๊ก
           ชิิด็ก๊กไซ่่ฮั่ั�นั เลียด็ก๊ก แล้ะเร่�องจีนอ่�นในป็ระเภทเดีียวกันเป็็นเสุม่อนตำารับพิชุัยสุงครามเพ่�อศึึกษิา
           กล้ศึึก ศึิล้ป็ะการเจรจาแล้ะการตัดีสุินใจ

                    บรรดีานิยายอิงพงศึาวดีารจีนที�แป็ล้กันในสุมัยก่อนรัชุกาล้พระบาทสุมเดี็จพระนั�งเกล้้า

           เจ้าอย่่หัว สามก๊กนับเป็็นเร่�องเอก มีความโดีดีเดี่นทั�งเน่�อเร่�อง ตัวล้ะคร แล้ะสุำานวนภาษิา แล้ะ
           เจ้าพระยาพระคล้ัง (หน) ผู้่้ที�เป็็นแม่กองแป็ล้แล้ะขัดีเกล้าสุำานวนภาษิาของเร่�องสามก๊กหาใชุ่ใครอ่�น
           แต่เป็็นตาของสุมเดี็จฯ กรมพระยาเดีชุาดีิศึรเอง   ในฐานะที�เป็็นเจ้าพระยาพระคล้ัง (หน) ว่าการกรมท่า
                                                 ๓๐
           แล้ะเป็็นผู้่้อำานวยการแป็ล้สุามก๊ก เจ้าพระยาพระคล้ัง (หน) ย่อมต้องติดีต่อชุาวจีนจำานวนมาก

           สุมเดี็จฯ กรมพระยาเดีชุาดีิศึร ผู้่้เป็็น “หล้านตา” เม่�อเสุดี็จไป็มาหาสุ่่ตาของพระองค์ ย่อมต้องมีโอกาสุ
           ไดี้ทรงสุนทนาวิสุาสุะแล้กเป็ล้ี�ยนทรรศึนะแล้ะความร่้กับคณะชุาวจีนผู้่้ร่้ทวิภาษิาไทย–จีนไม่มากก็น้อย
           อีกทั�งพระบาทสุมเดี็จพระนั�งเกล้้าเจ้าอย่่หัวผู้่้เป็็นพระเชุษิฐาธิราชุ ก็ทรงมีกัล้ยาณมิตรเป็็นชุาวจีน





           ๓๐  สุมเดี็จฯ กรมพระยาเดีชุาดีิศึรเป็็นพระเจ้าล้่กยาเธอในพระบาทสุมเดี็จพระพุทธเล้ิศึหล้้านภาล้ัย ป็ระสุ่ติแต่เจ้าจอมมารดีานิ�ม
             ธิดีาของเจ้าพระยาพระคล้ัง (หน)
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77