Page 65 - วารสาร 48-1
P. 65
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
อนัันัต์์ เหล่่าเล่ิศวรกุุล่ 55
เราฆ์่าตีเป็๊กเสุียนี�อุป่มุาเหมุ่อนถึากถึางหญ้้าแต่บนดิน ไมุ่ขุดรากและเง่าเสุีย
ให้หมุด ภายหลังก็จีะงอกงามุขึ�น จะจับสุมัครพรรคพวกตีเป็๊กฆ์่าเสุียให้สุิ�นเชุิง แล้้วจึง
คิดีตั�งตัวเราทั�งสุามให้เป็็นใหญ่จึงจะไดี้
(เลียด็ก๊ก, ๒๕๔๙ ค : ๗๒–๓)
เทียบเฉพาะสุุภาษิิตในวรรณกรรมต้นฉบับ 東周列國誌 Dōngzhōu Lièguó Zhì (2002:
638) ความตอนเดีียวกันว่า 斬草留根, 終為後患 zhǎn cǎo liú gēn, zhōng wèi hòu huàn แป็ล้ว่า
‘ตัดีหญ้าเหล้่อรากไว้ ที�สุุดีย่อมก่อป็ัญหาในภายหล้ัง’
อย่างไรก็ตาม ในจด็หมายเหตุคีวามท์รงจำาขุองกรมหลวงนัรินัท์รเท์วี (๒๕๔๕ : ๓๘)
มีสุำานวนไทยโบราณว่า “ตัดีไม้ไม่ไว้หน่อ ฆ์่าพ่อไม่เล้ี�ยงล้่ก” ในพระราชิวิจารณ์ในัพระบัาท์สมเด็็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่่หัวเร่�องจด็หมายเหตุคีวามท์รงจำาในักรมหลวงนัรินัท์รเท์วี (๒๕๔๕ : ๓๒๓)
ใชุ้ว่า “ตัดีหวายอย่าไว้หนามหน่อ ฆ์่าพ่ออย่าไว้ล้่ก” เม่�อพิจารณาโคล้งบาทที� ๒ “หนามหั�นห่อนไว้
แขนง หน่อเชุ่�อ” ใชุ้ทั�งคำาว่า “หนาม” แล้ะ “หน่อ” ตรงตามสุำานวนไทยโบราณ ดีังนั�น โคล้งโล้กนิติ
บทนี�เฉพาะบาทแรกเท่านั�นที�อาจมีที�มาจากสุุภาษิิตจีนก็เป็็นไดี้
(๗) ลูกเมุียเหมุ่อนผ้าโอ่ อัตรา
ขาดฉีีกชั�วแล้วหา ใหมุ่ได้
พี�น้องเฉีกเช่นขา แขนติด ตนแฮ
ขาดป่ระจีาคจีักให้ ต่อเข้าฤๅค่น
(โคีลงโลกนัิติ ดี : ๒๖๒ ม)
โคล้งบทนี�แต่แรกไม่มีคาถึากำากับ นิยะดีา เหล้่าสุุนทร (๒๕๔๒ : ๑๒๒) วิเคราะห์ว่าโคล้ง
บทนี�มีที�มาจากคัมภีร์ธรรมนีติบทที� ๑๙๗ ว่า
๑๕
ป็ุตฺตำ วา ภาตรำ ทุฏฺฺฐำ อนุสุาเสุยฺย โน ชุเห
กึ นุ เฉชฺุชุำ หตฺถึป็าทำ ล้ิตฺตำ อสุุจินา สุิยา.
แป็ล้ว่า ล้่กหร่อพี�น้องที�มีโทษิผู้ิดี ต้องสุั�งสุอน ไม่ควรทิ�งขว้าง เชุ่นเดีียวกับม่อเท้าเป็รอะเป็้�อน
สุกป็รก ดีังฤๅจะควรตัดีทิ�งหร่อ
๑๖
๑๕ ตรงกับธรรมนัีติ (ราชุบัณฑิิตยสุถึาน, ๒๕๔๖ : ๕๐๑) บทที� ๑๙๔
๑๖ เข้าใจว่าเป็็นคำาแป็ล้ของกิม หงศึ์ล้ดีารมภ์ แล้ะเกษิม บุญศึรี (ดี่ นิยะดีา เหล้่าสุุนทร, ๒๕๔๒ : ๒๒๐)