Page 58 - วารสาร 48-1
P. 58
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
48 สุุภาษิิตจีีนในโคลงโลกนิติ
โคล้งที�ไม่ทราบที�มา
ธรรมดีายาโรคร้อน รสุขม
กินก็บำาบัดีล้ม แล้ะไข้
คนซึ่่�อกล้่าวใครชุม ว่าชุอบ ห่แฮั่
จริงไป็่จริงนั�นไซึ่ร้ ผู้่ายหน้านานเห็น
(โคีลงโลกนัิติ ดี : ๑๖๘ ม)
อย่างไรก็ตาม ผู้่้วิจัยพบว่า โคล้ง ๒ บทข้างต้นตรงกับสุุภาษิิตของจีน โดียโคล้งบทที� ๓๖๖ ม
๒ บาทท้ายตรงกับสุุภาษิิตที�รวบรวมไว้ในพจนานุกรมสุำานวนจีนเล้่มใหญ่ 中國成語大辭典 (王濤等,
2006: 428) ว่า 割雞焉用牛刀 gē jī yān yòng niú dāo แป็ล้ว่า ‘เชุ่อดีไก่ไยต้องใชุ้มีดีฆ์่าโค’
สุุภาษิิตนี�มีร่ป็แป็รว่า 殺雞焉用牛刀 shā jī yān yòng niú dāo (2006: 1071–2) แป็ล้ว่า
‘ฆ์่าไก่ไยต้องใชุ้มีดีฆ์่าโค’ สุ่วนโคล้งบทที� ๑๖๘ ม นั�น ๒ บาทแรกตรงกับสุุภาษิิตว่า 良藥苦口 liáng
yào kǔ kǒu (2006: 742) แป็ล้ว่า ‘ยาดีีขมป็าก’ สุ่วน ๒ บาทหล้ังตรงกับสุุภาษิิต 忠言逆耳 zhōng
yán nì ěr (2006: 1759) แป็ล้ว่า ‘คำาตรงขัดีห่’
ผู้่้วิจัยเห็นว่า คงไม่ใชุ่เร่�องบังเอิญที�โคล้งโล้กนิติสุำานวนของสุมเดี็จฯ กรมพระยาเดีชุาดีิศึร
ทั�ง ๒ บทนี�ไป็ตรงกับสุุภาษิิตจีน จึงใคร่ร่้ว่ายังมีโคล้งบทอ่�นอีกหร่อไม่ที�ตรงสุำานวนหร่อสุุภาษิิตของจีน
แล้ะอะไรเป็็นเหตุป็ัจจัยให้สุุภาษิิตจีนมาป็รากฏในโคล้งโล้กนิติ ผู้่้วิจัยมีสุมมติฐานว่า โคีลงโลกนัิติ
มีท์ี�มาหลายท์าง ไม่จำาเพาะมาจากสุภาษิิตขุองอินัเด็ียโบัราณ สุภาษิิตขุองจีนัก็เป็นัท์ี�มาหนั่�ง นัิยายอิง
พงศิาวด็ารจีนัท์ี�ชินัชิั�นันัำาขุองไท์ยขุวนัขุวายแปลกันัในัรัชิกาลพระบัาท์สมเด็็จพระพุท์ธยอด็ฟ้้าจุฬาโลก
มหาราชิและรัชิกาลพระบัาท์สมเด็็จพระพุท์ธเลิศิหล้านัภาลัย เป็นัปัจจัยสำาคีัญท์ี�ท์ำาให้สุภาษิิตขุองจีนั
ปรากฏอย่่ในัโคีลงโลกนัิติโด็ยเฉัพาะอย่างยิ�งสำานัวนัพระนัิพนัธ์ขุองสมเด็็จฯ กรมพระยาเด็ชิาด็ิศิร
กระบวนการวิจัยจะดีำาเนินตามนี�
๑. เป็รียบเทียบโคล้งโล้กนิติกับสุุภาษิิตจีนที�รวบรวมไว้ในพจนานุกรมสุำานวนจีนของ 王濤等
(2006) แล้ะ 張林川 (2003) แล้ะสุุภาษิิต วาทะ หร่อคำาคมที�พบในนิยายอิงพงศึาวดีารจีนแป็ล้ ๓ เร่�อง
ไดี้แก่ สุามก๊ก ชุิดีก๊กไซึ่่ฮั่ั�น แล้ะเล้ียดีก๊ก ซึ่ึ�งแป็ล้เสุร็จสุิ�นแล้ะแพร่หล้ายอย่่ก่อนที�สุมเดี็จพระเจ้า
๘
บรมวงศึ์เธอ กรมพระยาเดีชุาดีิศึร จะทรงชุำาระแล้ะทรงพระนิพนธ์โคล้งโล้กนิติสุำานวนของพระองค์
๘ มักเรียกกันโดียย่อว่า ไซ่่ฮั่ั�นั จนคนจำานวนมากไม่ร่้ชุ่�อที�ถึ่กต้องสุมบ่รณ์ของวรรณกรรมเร่�องนี�