Page 86 - 47-2
P. 86

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                       ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
           76                                                         การคุ้้�มคุ้รองแรงงานหญิิงตามกฎหมาย


           อยู่ในสำภาพที�จะไมี่ก่อให้เกิดอันต่รายได้ โดยผู้ที�จะพิจารณานั�นก็ควรจะเป็นผู้ซึ่ึ�งเป็นกลางและมีีอำานาจ

           ที�จะพิจารณาสำั�งการได้ต่ามีกฎหมีาย นั�นก็ค่อพนักงานเจ้าหน้าที�ดังที�กำาหนดไว้ในมีาต่รา ๔๐ แห่ง

           พระราชบัญิญิัต่ิคุ้มีครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ดังนี�
                               มีาต่รา ๔๐ “ในกรณีที�นายจ้างให้ลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงทำางานระหว่างเวลา
           ๒๔.๐๐ นาฬิิกาถึึงเวลา ๖.๐๐ นาฬิิกา และพนักงานต่รวจแรงงานเห็นว่างานนั�นอาจเป็นอันต่รายต่่อ

           สำุขภาพและความีปลอดภัยของหญิิงนั�น ให้พนักงานต่รวจแรงงานรายงานต่่ออธิบดีหร่อผู้ซึ่ึ�งอธิบดี

           มีอบหมีายเพ่�อพิจารณาและมีีคำาสำั�งให้นายจ้างเปลี�ยนเวลาทำางานหร่อลดชั�วโมีงทำางานได้ต่ามีที�เห็น
           สำมีควรและให้นายจ้างปฏิิบัต่ิต่ามีคำาสำั�งดังกล่าว”
                               (๔) ค่าต่อบแทนในการทำางาน เกี�ยวกับเร่�องค่าต่อบแทนในการทำางานซึ่ึ�ง

           หมีายถึึงค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำางานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุดนั�น ไมี่ว่าลูกจ้างจะเป็นหญิิง

           หร่อชายก็ย่อมีจะมีีสำิทธิได้รับค่าต่อบแทนในการทำางานที�เท่าเทียมีกัน  ถึ้างานนั�นมีีลักษณะและคุณภาพ
           อย่างเดียวกันและปริมีาณเท่ากัน ดังที�กำาหนดไว้ในมีาต่รา ๕๓ ความีว่า
                               มีาต่รา ๕๓ “ในกรณีที�งานมีีลักษณะและคุณภาพอย่างเดียวกันและปริมีาณ

           เท่ากัน ให้นายจ้างกำาหนดค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำางานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด ให้แก่

           ลูกจ้างเท่าเทียมีกันไมี่ว่าลูกจ้างนั�นจะเป็นชายหร่อหญิิง”
                               ซึ่ึ�งสำอดคล้องกับอนุสำัญิญิาฉบับที� ๑๐๐ ว่าด้วยการจ่ายค่าต่อบแทนที�เท่าเทียมีกัน
           ค.ศ. ๑๙๕๑ (Convention Concerning the Equal Remuneration, 1951) และข้อแนะขององค์การ

           แรงงานระหว่างประเทศฉบับที� ๙๐ ว่าด้วยค่าต่อบแทนที�เท่าเทียมีกัน ค.ศ. ๑๙๕๑ (Recommendation

           Concerning the Equal Remuneration, 1951)
                               (๕) การคุ้มีครองการทำางานของลูกจ้างหญิิงมีีครรภ์ สำำาหรับลูกจ้างซึ่ึ�งเป็น
           หญิิงมีีครรภ์ต่้องได้รับการคุ้มีครองให้เหมีาะสำมียิ�งขึ�นไปอีก มีิฉะนั�นอาจก่อให้เกิดอันต่รายต่่อสำุขภาพ

           ร่างกายของหญิิงและทารกในครรภ์ได้ จึงกำาหนดให้ความีคุ้มีครองการทำางานของลูกจ้างหญิิงมีีครรภ์

           ไว้เป็นพิเศษ และยังสำอดคล้องกับอนุสำัญิญิาขององค์การแรงงานระหว่างประเทศและรัฐธรรมีนูญิ
           แห่งราชอาณาจักรไทยที�กำาหนดไว้ดังกล่าวมีาแล้ว
                               ก)  ประเภทของงาน งานบางประเภทอาจมีีผลกระทบกระเท่อนต่่อการ

           ต่ั�งครรภ์ของมีารดาหร่อทารกในครรภ์ได้ จึงได้กำาหนดห้ามีนายจ้างให้ลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงมีีครรภ์ทำางาน

           บางประเภทไว้ในมีาต่รา ๓๙ ซึ่ึ�งแก้ไขเพิ�มีเต่ิมีโดยพระราชบัญิญิัต่ิคุ้มีครองแรงงาน (ฉบับที� ๒)
           พ.ศ. ๒๕๕๑ ดังนี�
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91