Page 88 - 47-2
P. 88
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
78 การคุ้้�มคุ้รองแรงงานหญิิงตามกฎหมาย
บทบัญิญิัต่ิในวรรคสำองนี�ได้เพิ�มีเต่ิมีขึ�นมีาในพระราชบัญิญิัต่ิคุ้มีครองแรงงาน
(ฉบับที� ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ เดิมีได้กำาหนดไว้ในกฎกระทรวงฉบับที� ๗ พ.ศ. ๒๕๔๑ เพ่�อให้หญิิงมีีครรภ์ซึ่ึ�ง
ทำางานในต่ำาแหน่งผู้บริหารงานวิชาการ งานธุรการ งานเกี�ยวกับการเงินหร่อบัญิชี สำามีารถึทำางานล่วงเวลา
ในวันทำางานได้เท่าที�ไมี่มีีผลกระทบต่่อสำุขภาพของลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงมีีครรภ์ได้ แต่่นายจ้างจะต่้องได้รับ
ความียินยอมีจากลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงมีีครรภ์เสำียก่อนในแต่่ละครั�งที�จะให้ลูกจ้างผู้นั�นทำางานล่วงเวลา
ในวันทำางาน และจะให้ทำางานได้แต่่เฉพาะการทำางานล่วงเวลาในวันที�เป็นวันทำางานของลูกจ้างเท่านั�น
จะให้ทำางานล่วงเวลาในวันหยุดหร่อทำางานในวันหยุดไมี่ได้แมี้ลูกจ้างจะยินยอมีก็ต่ามี
ค) ค่าต่อบแทนในการทำางาน นอกจากค่าต่อบแทนในการทำางานที�ลูกจ้างหญิิง
ได้รับเท่าเทียมีกับลูกจ้างชายดังกล่าวมีาแล้ว ลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงมีีครรภ์ยังมีีสำิทธิที�จะได้รับค่าจ้าง
ในวันลาเพ่�อคลอดบุต่รเท่ากับค่าจ้างในวันทำางานต่ลอดระยะเวลาที�ลา แต่่จะได้รับไมี่เกิน ๔๕ วัน
ต่ามีที�กำาหนดไว้ในมีาต่รา ๕๙ ซึ่ึ�งแก้ไขเพิ�มีเต่ิมีโดยพระราชบัญิญิัต่ิคุ้มีครองแรงงาน (ฉบับที� ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒
ดังนี�
มีาต่รา ๕๙ “ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงในวันลาเพ่�อ
คลอดบุต่รต่ามีมีาต่รา ๔๑ เท่ากับค่าจ้างในวันทำางานต่ลอดระยะเวลาที�ลาแต่่ไมี่เกินสำี�สำิบห้าวัน”
ซึ่ึ�งสำอดคล้องกับอนุสำัญิญิาขององค์การแรงงานระหว่างประเทศฉบับที� ๑๐๓
ว่าด้วยการคุ้มีครองหญิิงซึ่ึ�งมีีครรภ์ ค.ศ. ๑๙๕๒ (Convention on Maternity Protection, 1952)
ดังกล่าวมีาแล้ว
ง) การลาคลอด นอกจากสำิทธิในเร่�องวันหยุดและวันลาต่่าง ๆ ซึ่ึ�งแรงงานหญิิง
ได้รับเช่นเดียวกับลูกจ้างชายแล้ว ลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงมีีครรภ์ยังควรที�จะมีีสำิทธิพิเศษเพิ�มีขึ�นจากวันหยุด
และวันลาโดยปรกต่ิเหล่านั�นอีกในฐานะที�เป็นแมี่มีีหน้าที�ในการคลอดและดูแลเลี�ยงดูให้นมีบุต่ร ซึ่ึ�งจะ
เต่ิบโต่เป็นทรัพยากรที�มีีค่ายิ�งของชาต่ิให้มีีคุณภาพที�ดีที�สำุดอันเป็นภาระหน้าที�ที�ยิ�งใหญิ่และสำำาคัญิยิ�ง
สำมีควรที�จะต่้องให้ความีคุ้มีครองดูแลเป็นพิเศษ ให้ลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงมีีครรภ์ได้หยุดงานหลังการ
คลอดบุต่รเพ่�อพักฟื้้�นและเลี�ยงดูบุต่รด้วยนมีแมี่ในระยะพอสำมีควร ประเทศไทยจึงได้กำาหนดให้ลูกจ้าง
ซึ่ึ�งเป็นหญิิงมีีครรภ์มีีสำิทธิที�จะลาเพ่�อคลอดบุต่รได้ ซึ่ึ�งสำอดคล้องกับอนุสำัญิญิาขององค์การแรงงานระหว่าง
ประเทศฉบับที� ๑๐๓ ว่าด้วยการคุ้มีครองหญิิงซึ่ึ�งมีีครรภ์ ค.ศ. ๑๙๕๒ (Convention on Maternity
Protection, 1952) ดังกล่าวมีาแล้ว โดยกำาหนดไว้ในมีาต่รา ๔๑ แก้ไขเพิ�มีเต่ิมีโดยพระราชบัญิญิัต่ิ
คุ้มีครองแรงงาน (ฉบับที� ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ ดังนี�