Page 90 - 47-2
P. 90
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
80 การคุ้้�มคุ้รองแรงงานหญิิงตามกฎหมาย
ฉ) การเลิกจ้าง นอกจากการคุ้มีครองการเลิกจ้างต่ามีที�กำาหนดไว้ในพระราช-
บัญิญิัต่ิคุ้มีครองแรงงาน พ. ศ. ๒๕๔๑ มีาต่รา ๑๑๘ ถึึงมีาต่รา ๑๒๒ ที�ลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงมีีครรภ์ได้รับ
เช่นเดียวกับลูกจ้างหญิิงและชายแล้ว ลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงมีีครรภ์ยังได้รับสำิทธิพิเศษที�กฎหมีายกำาหนด
ห้ามีนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงมีีครรภ์ไว้อีกด้วย โดยได้กำาหนดไว้ในมีาต่รา ๔๓ ซึ่ึ�งสำอดคล้อง
กับอนุสำัญิญิาขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที� ๑๐๓ เร่�องการคุ้มีครองหญิิงซึ่ึ�งมีีครรภ์,
ค.ศ. ๑๙๕๒ (Convention on Maternity Protection, 1952) ดังนี�
มีาต่รา ๔๓ “ห้ามีมีิให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงเพราะเหตุ่มีีครรภ์
มีาต่รานี�เป็นบทบัญิญิัต่ิพิเศษที�ให้ความีคุ้มีครองไมี่ให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างหญิิงเพราะเหตุ่ที�หญิิงนั�น
มีีครรภ์เพราะการต่ั�งครรภ์นั�นเป็นเร่�องที�เป็นไปต่ามีธรรมีชาต่ิ ไมี่ควรที�นายจ้างจะใช้อำานาจในการ
จ้างงานมีาบังคับไมี่ให้หญิิงต่ั�งครรภ์ แต่่การห้ามีนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงมีีครรภ์นี� จะต่้องเป็น
การเลิกจ้างเพราะเหตุ่ที�หญิิงนั�นต่ั�งครรภ์ ถึ้าเป็นการเลิกจ้างหญิิงมีีครรภ์เพราะเหตุ่อ่�น เช่น นายจ้าง
ปิดกิจการเพราะขาดทุน ไมี่สำามีารถึดำาเนินกิจการต่่อไปได้ จึงต่้องปิดกิจการและเลิกจ้างลูกจ้าง เช่นนี�
ก็สำามีารถึเลิกจ้างลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงมีีครรภ์ได้ เพราะไมี่ได้เลิกจ้างเพราะเหตุ่ที�ต่ั�งครรภ์แต่่เป็นการ
เลิกจ้างเพราะเหตุ่อ่�น (คำาพิพากษาฎีกาที� ๑๙๕๖/๒๕๔๘) (เกษมีสำันต่์ วิลาวรรณ, ๒๕๖๒ : ๙๗)
สำำาหรับแรงงานหญิิงที�ทำางานอยู่ในรัฐวิสำาหกิจ ก็จะได้รับการคุ้มีครองต่ามี
ประกาศคณะกรรมีการแรงงานรัฐวิสำาหกิจสำัมีพันธ์เร่�องมีาต่รฐานขั�นต่ำ�าของสำภาพการจ้างในรัฐวิสำาหกิจ
ฉบับลงวันที� ๓๑ พฤษภาคมี พ.ศ. ๒๕๔๙ หมีวด ๓ ข้อ ๒๑ ถึึง ข้อ ๒๗ ที�ออกต่ามีความีในมีาต่รา ๑๓ (๑)
แห่งพระราชบัญิญิัต่ิแรงงานรัฐวิสำาหกิจสำัมีพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓ ซึ่ึ�งมีีบทบัญิญิัต่ิที�ให้ความีคุ้มีครองแรงงาน
หญิิงไว้เช่นเดียวกับที�พระราชบัญิญิัต่ิคุ้มีครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ กำาหนดไว้เป็นสำ่วนใหญิ่ มีีเฉพาะ
ข้อ ๒๕ ที�กำาหนดให้มีีสำิทธิลาคลอดได้ ๙๐ วัน โดยได้รับค่าจ้างเต่็มีต่ามีปรกต่ิ แต่่ถึ้าประสำงค์จะลาเพ่�อ
เลี�ยงบุต่ร มีีสำิทธิที�จะลาต่่อเน่�องจากการลาคลอดบุต่รได้ไมี่เกิน ๑๕๐ วันทำางาน โดยไมี่ได้รับค่าจ้าง
ระหว่างลา
๒) กฎหมีายประกันสำังคมี
การประกันสำังคมีเป็นการวางรากฐานความีมีั�นคงทางสำังคมีให้แก่ประชาชน
โดยเฉพาะอย่างยิ�งลูกจ้างผู้ประกันต่น เพ่�อให้มีีความีมีั�นคงในเร่�องรายได้สำำาหรับต่นเองและครอบครัว
ในยามีที�ขาดรายได้เพราะภัยสำังคมีประเภทต่่าง ๆ เช่น ว่างงาน คลอดบุต่ร ชราภาพ ประสำบอันต่ราย
เจ็บป่วย พิการ ทุพพลภาพ ต่าย ที�มีิได้เน่�องจากการทำางานให้แก่นายจ้าง เพ่�อบำาบัดความีทุกข์ยากให้
บรรเทาหร่อหมีดสำิ�นไปโดยมีีรัฐและองค์กรเอกชนเป็นผู้ให้ความีร่วมีมี่อและดำาเนินการโครงการด้วย