Page 230 - 47-2
P. 230
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
220 จากตราตำาแหน่่งสู่่่เคร่�องหมายราชการ
ต้�งแต่เมั่�อใดีจะไดี้โปรดีเกล้าฯ ให้ประกาศใน่ราช้กิจจานุ่เบกษา และให้ “เสน่าบดีีกระที่รวงมัหาดีไที่ย
มัีสารตราพระราช้สีห์บ้งคั้บออกไปย้งห้วเมั่องมัณ์ฑ์ลน่้�น่ ส่วน่ห้วเมั่องใน่จ้งหว้ดีกรุงเที่พฯ ก็ให้
เสน่าบดีีกระที่รวงน่คัรบาล มัีสารตราพระยมัที่รงสิงห์บ้งคั้บออกไป” ห้วเมั่องมัณ์ฑ์ลใดีที่ี�ย้งไมั่ไดี้ร้บ
โปรดีเกล้า ฯ ให้ใช้้พระราช้บ้ญญ้ติน่ี� ให้คัวรปฏิิบ้ติไปตามัคัวามัเดีิมัก่อน่ (กฎหมัายใน่ร้ช้กาลที่ี� ๕
เล่มั ๒, ๒๕๔๑ : ๑๙๘๖)
การใช้ตราตำาแหน่่งใน่สู่น่ธิสู่ัญญากับต่างปัระเทศ
ปรากฏิหล้กฐาน่ที่างประว้ติศาสตร์ถึึงการใช้้ตราตำาแหน่่งใน่การที่ำาสน่ธิส้ญญาก้บ
ต่างประเที่ศต้�งแต่สมั้ยอยุธยาจน่ถึึงสมั้ยร้ตน่โกสิน่ที่ร์ ซึ่ึ�งใช้้ตราตำาแหน่่งประที่้บแที่น่การลงน่ามั
ฉบ้บแรก คั่อ สน่ธิส้ญญาไที่ย–ฝ่ร้�งเศส ใน่สมั้ยอยุธยาร้ช้กาลสมัเดี็จพระน่ารายณ์์มัหาราช้ ซึ่ึ�งจ้ดีที่ำา
สน่ธิส้ญญาฉบ้บน่ี�ที่ี�เมั่องลพบุรี เมั่�อว้น่ที่ี� ๑๑ ธ้น่วาคัมั พ.ศ. ๒๒๓๐ ระหว่าง ซึ่ิมัง เดีอ ลาลูแบร์
(Monsieur Simon de La Loubère) ราช้ทีู่ตพิเศษ และเซึ่เบอร์เรต (Monsieur Cèberet)
เจ้าหน่้าที่ี�ฝ่่ายฝ่ร้�งเศสก้บผู่้แที่น่ฝ่่ายสยามั ๒ คัน่ คั่อ “ออกญาพระเสดี็จสุเรน่ที่ราธิบดีีศรีศุขราช้พิริยภาหุ”
และพระยาศรีพิพ้ฒน่์ราช้โกษา ต้น่ฉบ้บส้ญญาที่ำาเป็น่ ๓ ภาษา ภาษาละ ๓ ฉบ้บ คั่อ ภาษาไที่ย ภาษา
ฝ่ร้�งเศส และภาษาโปรตุเกส ตอน่ที่้ายของสน่ธิส้ญญามัีลายเซึ่็น่ของลาลูแบร์ และเซึ่เบอร์เรต ประที่้บ
ตราตำาแหน่่งบน่คัร้�ง และมัีตราของฝ่่ายสยามั ๓ ตรา ใช้้หมัึกสีแดีง ๒ ตราแรก คั่อ ตราเที่วดีาถึ่อจ้กร
และตราบ้วแก้ว ซึ่ึ�งเป็น่ตราของเสน่าบดีีพระคัล้ง และตราที่ี� ๓ ไมั่ช้้ดีเจน่ว่าเป็น่ตราของพระศรีพิพ้ฒน่์
ราช้โกษา ซึ่ึ�งตามัสน่ธิส้ญญาน่ี�ฝ่ร้�งเศสไดี้ร้บอนุ่ญาตให้ต้�งโรงคัล้งสิน่คั้า และไมั่ต้องเสียภาษีสิน่คั้า
เข้า–ออก ที่ี�สำาคั้ญคั่อไดี้ร้บผู่กขาดีการคั้าดีีบุกใน่ไที่ย (ประชุ้มัจดีหมัายเหตุสมั้ยอยุธยาภาคั ๑,
๒๕๔๐ : ๑๒-๑๖) การประที่้บตราที่้ายส้ญญาประกอบดี้วย ตราเที่วดีาถึ่อจ้กร ตราประที่้บและลายเซึ่็น่
ลาลูแบร์ ลายเซึ่็น่และตราประที่้บเซึ่เบอร์เรต ตราพระคัช้สีห์ และตราบ้วแก้ว
สู่น่ธิสู่ัญญาทางพระราชไมตรีระหว่างปัระเทศอังกฤษกับปัระเทศสู่ยาม พ.ศ. ๒๓๖๙ หร่อ
สู่น่ธิสู่ัญญาเบอร์น่ี
เป็น่สน่ธิส้ญญาที่ี�ที่ำาใน่ร้ช้สมั้ยพระบาที่สมัเดี็จพระน่้�งเกล้าเจ้าอยู่ห้ว ลงน่ามัเมั่�อว้น่ที่ี� ๒๐
มัิถึุน่ายน่ พ.ศ. ๒๓๖๙ จ้ดีที่ำาเป็น่ ๓ ภาษา คั่อ ไที่ย มัลายู อ้งกฤษ และมัีการประที่้บตราตำาแหน่่งของ
ผู่้แที่น่แต่ละฝ่่าย ฝ่่ายไที่ยมัีตราประที่้บถึึง ๗ ดีวง คั่อ ๑) ตราหลวง พระไอยราพต ๒) ตราพระราช้สีห์