Page 203 - 47-2
P. 203

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                         ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
             นายกฤษฎา บุุณยสมิิต                                                            193


                       ๔)  ศาลแพิ�งเกษม โดยู่นำาศาลแพิ�งเกษม ศาลกรมวัง และศาลกรมนามารวมกัน

                       ๕)  ศาลแพิ�งกลาง โดยู่นำาศาลแพิ�งกลาง  ศาลกรมท�าซึ่้ายู่ ศาลกรมท�าข้วา  ศาลธรรมการ

             และศาลราชี้ต่ระก่ลมารวมกัน
                       ๖)  ศาลสัรรพิากร โดยู่นำาศาลสัรรพิากรและศาลมรดกมารวมกัน
                       ๗)  ศาลต่�างประเทศคงต่ามเดิม


                       เมื�อยู่กศาลฎีกาไปเป็นศาลอุทธรณ์คดีหลวง จึึงให้พิิจึารณาความอุทธรณ์ คำาพิิพิากษา
             ต่ัดสัินข้องศาลล�าง และให้พิิจึารณาฎีกาทั�งปวงที�คั�งค้างอยู่่�ด้วยู่ สั�วนความที�จึะเป็นฎีกาต่�อไป กำาหนดให้

             ราษฎรท่ลเกล้าฯ ถวายู่ฎีกาได้เฉพิาะกรณีที�กล�าวโทษคำาพิิพิากษาศาลอุทธรณ์คดีหลวง และศาลอุทธรณ์

             คดีราษฎร์ กล�าวโทษเสันาบดีเจึ้ากระทรวงทั�งปวง และเป็นประเด็นสัำาคัญที�ควรจึะได้รับพิระบรม-
             ราชี้วินิจึฉัยู่ ถ้าทรงเห็นว�ามีเหตุ่อันควรพิิจึารณาให้ก็จึะโปรดเกล้าฯ ต่ั�งองคมนต่รีเป็นครั�งคราวให้ชี้ำาระ
             ไต่�สัวนเสันอความเห็นท่ลเกล้าฯ ถวายู่ หรือให้ที�ประชีุ้มเสันาบดีปรึกษาต่ัดสัินความอื�นนอกจึากนี�

             ห้ามมิให้ราษฎรทำาฎีกาท่ลเกล้าฯ ถวายู่ ต่�อมาใน พิ.ศ. ๒๔๓๕ ทรงประกาศใชี้้ “พิระราชิบััญญัติจัดีการ

             ในัสนัามสถ้ิตยยุติธรรม  รัตนัโกสินัที่รศก ๑๑๑”  (ราชี้กิจึจึานุเบกษา เล�ม ๑๐ แผู้�นที� ๕, ร.ศ. ๑๑๑)
             ให้เลิกศาลอุทธรณ์คดีหลวงและให้บรรดาความอุทธรณ์ทั�งหลายู่ซึ่ึ�งค้างพิิจึารณาอยู่่�ในศาลอุทธรณ์
             คดีหลวงยู่กมารวมพิิจึารณาในศาลอุทธรณ์คดีราษฎร์ต่�อไป

                       ต่�อมาใน พิ.ศ. ๒๔๓๘ ทรงต่ราพิระราชี้บัญญัต่ิลักษณะพิยู่าน ร.ศ. ๑๑๓ ยู่กเลิกวิธี

             พิิจึารณาความอยู่�างเก�า โดยู่ให้ผู้่้พิิพิากษาพิิจึารณาความเองโดยู่ต่ลอดจึนถึงทำาคำาพิิพิากษาดังเชี้�น
             ปัจึจึุบัน  และต่�อมาใน พิ.ศ. ๒๔๔๐ ทรงต่ราพิระราชี้บัญญัต่ิยู่กเลิกวิธีพิิจึารณาโจึรผู้่้ร้ายู่ต่ามจึารีต่
             นครบาล ร.ศ. ๑๑๕ ซึ่ึ�งเป็นวิธีการสัอบสัวนที�ใชี้้เฉพิาะในคดีโจึรผู้่้ร้ายู่และผู้่้กระทำาความผู้ิดอันมี

             โทษหลวง (เทียู่บได้กับคดีอาญาแผู้�นดินในปัจึจึุบัน) โดยู่ใชี้้วิธีทรมานต่�าง ๆ เชี้�น มัดโยู่ง ต่บปาก จึำาคา

             จึำาข้ื�อ เฆ่ี�ยู่น เพิื�อถามเอาหลักฐานจึากต่ัวผู้่้ต่้องหาเอง เชี้�น ให้รับสัารภาพิ ให้บอกที�ซึ่�อนทรัพิยู่์ที�ลัก
             หรือปล้นไป อันเป็นประเด็นสัำาคัญเรื�องหนึ�งในการต่ั�งข้้อรังเกียู่จึกระบวนการยูุ่ต่ิธรรมข้องไทยู่จึาก
             ชี้าต่ิต่ะวันต่กและนำามาซึ่ึ�งสัิทธิสัภาพินอกอาณาเข้ต่นั�น

                       สัำาหรับศาลหัวเมืองนั�น ใน พิ.ศ. ๒๔๓๙ ทรงต่ราพิระราชี้บัญญัต่ิต่ั�งข้้าหลวงพิิเศษ

             สัำาหรับจึัดการแก้ไข้ธรรมเนียู่มศาลยูุ่ต่ิธรรมหัวเมืองทั�งปวง ร.ศ. ๑๑๕ เพิื�อรวบรวมศาลในหัวเมืองต่�าง ๆ
             ที�สัังกัดกระทรวงอื�นให้มาอยู่่�ในสัังกัดกระทรวงยูุ่ต่ิธรรมเชี้�นเดียู่วกับศาลในกรุงเทพิมหานคร จึนในที�สัุด
             ระบบการศาลไทยู่จึึงเป็นอันหนึ�งอันเดียู่วกันทั�วราชี้อาณาจึักร มีความทันสัมัยู่เชี้�นเดียู่วกับศาลในนานา
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208