Page 206 - 47-2
P. 206

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                       ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
           196                                                  การศาลไทยก่อนและหลังการปฏิิรูปใน ร.ศ. ๑๑๐


                         “...ตั�งแต่พิระบัาที่สมเดี็จพิระจอมเกล�าเจ�าอย้่หัวเปนัต�นัมา ในัสมัยนัั�นั

                    เปนัเวลาที่ี�ฝรั�งเขุ�ามาในัเมืองไที่ยมาก พิระบัาที่สมเดี็จพิระจอมเกล�าเจ�าอย้่หัว

                    ไดี�ที่รงเห็นัสิ�งสำาคีัญว่า ในัการที่ี�เราจะรักษาอิศรภาพิขุองเรานัั�นั จำาจะต�องเรียนั
                    ให�ร้�วิชิาขุองพิวกฝรั�งเหล่านัั�นั แล�วและแก�ไขุการปกคีรองขุองบั�านัเมืองให�
                    ที่ันัเขุา...คีรั�นัต่อมาพิระบัาที่สมเดี็จพิระจุลจอมเกล�าเจ�าอย้่หัวไดี�ที่รงดีำาเนัินั

                    พิระบัรมราโชิบัายอันันัั�นัต่อมาดี�วยพิระปรีชิาญาณอันัยอดีเยี�ยมหาที่ี�เปรียบัมิไดี�

                    นัับัว่าเปนัเคีราะห์ดีีที่ี�สุดีขุองประเที่ศ...คีรั�นัภายหลังพิระบัาที่สมเดี็จพิระมงกุฎ
                    เกล�าเจ�าอย้่หัว ก็ไดี�ที่รงดีำาเนัินัราโชิบัายนัั�นั ต่อมาไดี�ที่รงพิระราชิดีำาริห์แก�ไขุ
                    และเพิิ�มเติมพิระราชิกำาหนัดีกฎหมายให�เหมาะกับักาลสมัยเปนัลำาดีับัมา...และ

                    นั่าเสียดีายอย่างยิ�งที่ี�การเจรจาแก�ไขุสัญญานัั�นัหาไดี�สำาเรจหมดีทีุ่กประเที่ศ

                    ในัรัชิสมัยขุองพิระองคี์ไม่...ที่ี�สุดีจึงมาตกในัรัชิสมัยขุองขุ�าพิเจ�า นัี�เปนัแต่เพิียง
                    บัุญกุศลขุองขุ�าพิเจ�าที่ี�สร�างสมมาแต่ปางก่อนัเที่่านัั�นั แที่�จริงขุ�าพิเจ�ามีส่วนันั�อย
                    ในัการที่ี�ประเที่ศสยามไดี�ส้่อิศรภาพิถ้ึงเพิียงนัี� แต่หากเปนัเพิราะบัุญกุศลการ

                    จึงไดี�เปนัผู้ลสำาเร็จในัรัชิสมัยขุองขุ�าพิเจ�า...”

                    จึากนั�นหลังจึากมีการเปลี�ยู่นแปลงการปกครองใน พิ.ศ. ๒๔๗๕ ประเทศไทยู่สัามารถประกาศ

           ใชี้้ประมวลกฎหมายู่แพิ�งและพิาณิชี้ยู่์ บรรพิ ๕ ครอบครัว และบรรพิ ๖ มรดก  ประมวลกฎหมายู่วิธี

           พิิจึารณาความแพิ�ง และประมวลกฎหมายู่วิธีพิิจึารณาความอาญา ใน พิ.ศ. ๒๔๗๘ ในการดำาเนินการ
           ชี้�วงเวลาต่�อมาที�เป็นจึุดเปลี�ยู่นให้ศาลไทยู่มีอำานาจึเหนือคดีอันเกี�ยู่วแก�คนต่�างประเทศอยู่�างสัมบ่รณ์
           มีการประกาศใชี้้พิระราชี้บัญญัต่ิว�าด้วยู่การพิิจึารณาพิิพิากษาคดีบางประเภทชี้ั�วคราว พิุทธศักราชี้

           ๒๔๗๘ (ราชี้กิจึจึานุเบกษา เล�ม ๕๒, ๒๔๘๗ : ๑๓๑๖-๑๓๑๙) โดยู่ มาต่รา ๓ กำาหนดว�า

           “ตั�งแต่วันัใชิ�พิระราชิบััญญัตินัี� ให�ศาลแพิ่งและศาลอาญามีอำานัาจเหนัือคีดีีบัางประเภที่อันัเกี�ยวแก่
           คีนัต่างประเที่ศตามที่ี�ระบัุไว�ในักฎกระที่รวง ซื่ึ�งจะไดี�ออกตามพิระราชิบััญญัตินัี�ที่ั�วราชิอาณาจักร
           เว�นัแต่คีดีีที่ี�อย้่ในัเขุตต์อำานัาจขุองศาลดีั�งที่ี�ระบัุไว�ในัมาตรา ๔, ๕ และ ๖” และมาต่รา ๗ ยู่ังกำาหนด

           อ้างถึงสััญญาทางพิระราชี้ไมต่รีไว้ด้วยู่ว�า “ภายใต�บัังคีับัแห่งสัญญาที่างพิระราชิไมตรีและประมวล

           กฎหมายวิธีพิิจารณาคีวาม การอุที่ธรณ์คีำาพิิพิากษาหรือคีำาสั�งจากศาลเหล่านัี� ให�อุที่ธรณ์ไปยัง
           ศาลอุที่ธรณ์ และการอุที่ธรณ์คีำาพิิพิากษาหรือคีำาสั�งศาลอุที่ธรณ์ให�อุที่ธรณ์ไปยังศาลฎีกา” ต่�อมาใน
           พิ.ศ. ๒๔๘๑ ประเทศไทยู่สัามารถยู่กเลิกบรรดาสััญญาทางพิระราชี้ไมต่รีทั�งหมดที�ทำาให้ประเทศไทยู่
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211