Page 208 - 47-2
P. 208
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
198 การศาลไทยก่อนและหลังการปฏิิรูปใน ร.ศ. ๑๑๐
การคัดเลือกบุคคลเพิื�อแต่�งต่ั�งเป็นผู้่้พิิพิากษาตุ่ลาการ มีความเข้้มงวดมากต่ลอดมา และ
ปัจึจึุบันจึะเห็นได้จึากการสัอบคัดเลือกให้ได้ผู้่้ที�ทั�งมีความร่้ความสัามารถทางกฎหมายู่และมีคุณธรรม
จึริยู่ธรรมเหมาะสัมเข้้ามาทำาหน้าที�ผู้่้พิิพิากษา มีผู้่้สัมัครเข้้ารับการคัดเลือกจึำานวนมาก แต่�สัอบผู้�านเกณฑ์์
เป็นจึำานวนน้อยู่ เมื�อได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่�งต่ั�งให้ดำารงต่ำาแหน�งผู้่้พิิพิากษาตุ่ลาการแล้วมีการกำากับ
ด่แลอยู่�างจึริงจึังเพิื�อให้บรรดาผู้่้พิิพิากษาตุ่ลาการรักษาความดี ความซึ่ื�อสััต่ยู่์สัุจึริต่และมั�นคงในการ
ทำาหน้าที�ต่ัดสัินอรรถคดี ผู้่้ที�ฝ่่าฝ่ืนจึะได้รับการลงโทษอยู่�างจึริงจึังโดยู่ไม�เห็นแก�หน้ากัน ก�อให้เกิด
แบบแผู้นทางกฎหมายู่และจึารีต่ประเพิณีทางตุ่ลาการข้องไทยู่ที�มั�นคง ไม�มีการแต่�งต่ั�งเลื�อนต่ำาแหน�ง
ข้้ามลำาดับอาวุโสั ไม�มีการวิ�งเต่้นเพิื�อให้ได้รับการแต่�งต่ั�งในต่ำาแหน�งต่�าง ๆ ทำาให้ได้รับความเชี้ื�อถือ
อยู่�างสั่งจึากประชี้าชี้นยู่ิ�งกว�าข้้าราชี้การฝ่่ายู่อื�น ๆ ทั�งที�การได้มาซึ่ึ�งผู้่้พิิพิากษาตุ่ลาการจึะใชี้้วิธีสัอบ
คัดเลือกและให้ได้รับการฝ่ึกอบรมในการทำาหน้าที�ต่ามกำาหนดเวลาที�กฎหมายู่กำาหนด จึากนั�นจึะได้รับ
พิระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่�งต่ั�งให้ทำาหน้าที�ผู้่้พิิพิากษาตุ่ลาการต่�อไป ซึ่ึ�งการได้มาซึ่ึ�งผู้่้พิิพิากษาตุ่ลาการ
โดยู่เฉพิาะสัำาหรับศาลยูุ่ต่ิธรรมนั�นมิได้ใชี้้วิธีการเลือกต่ั�ง ชี้วนให้คิดว�าการสัร้างความเข้้มแข้็งให้แก�
องค์กรหรือสัถาบันทางบริหารต่�าง ๆ หากมีกลวิธีใดสัร้างให้เกิดจึารีต่ประเพิณีที�เข้้มแข้็งในองค์กรหรือ
สัถาบันเหล�านั�นทำานองเดียู่วกับที�เกิดแก�สัถาบันศาลยูุ่ต่ิธรรม คงจึะเกิดผู้ลดีแก�ประเทศชี้าต่ิและประชี้าชี้น
ยู่ิ�งข้ึ�น
กิจึการศาลยู่�อมเป็นองค์ประกอบสัำาคัญในกระบวนการยูุ่ต่ิธรรม ชี้นทุกชี้าต่ิทุกภาษาที�มีความ
เป็นอารยู่ประเทศ ล้วนแล้วแต่�ให้ความสัำาคัญต่�อการอำานวยู่ความยูุ่ต่ิธรรม และปรับปรุงพิัฒนา
งานข้องกระบวนการยูุ่ต่ิธรรมเพิื�อให้สัามารถอำานวยู่ความยูุ่ต่ิธรรมให้แก�ประชี้าชี้นได้อยู่�างแท้จึริง
เพิื�อนำามาซึ่ึ�งความสังบเรียู่บร้อยู่ในสัังคมและศีลธรรมอันดีข้องประชี้าชี้นแห�งประเทศข้องต่น อันจึะ
สั�งผู้ลโดยู่รวมไปถึงการพิัฒนาการที�ยู่ั�งยู่ืนทั�งในด้านสัังคม เศรษฐกิจึ และการเมืองการปกครองข้อง
ประเทศนั�น ๆ ต่ลอดจึนได้รับการยู่อมรับจึากนานาประเทศด้วยู่ สัำาหรับประเทศไทยู่นับแต่�ชี้�วง
พิุทธศต่วรรษที� ๑๘ ที�เริ�มกำาเนิดอาณาจึักรสัุโข้ทัยู่ อยูุ่ธยู่า กรุงธนบุรี จึนมาถึงราชี้อาณาจึักรไทยู่
ในปัจึจึุบัน หลักศิลาจึารึกพิ�อขุ้นรามคำาแหง หลักที� ๑ หลักศิลาจึารึกหลักอื�น ๆ ประมวลกฎหมายู่
รัชี้กาลที� ๑ หรือกฎหมายู่ต่ราสัามดวง ต่ลอดจึนพิระราชี้กำาหนดบทพิระอัยู่การเก�าแก�ฉบับต่�าง ๆ นับเป็น
ประจึักษ์พิยู่านสัำาคัญที�แสัดงให้เห็นว�าชี้นชี้าต่ิไทยู่มีความเก�าแก� มีประวัต่ิศาสัต่ร์ความเป็นมายู่าวนาน
มีอารยู่ธรรมสั่ง และมีความเจึริญรุ�งเรืองทางด้านนิต่ิศาสัต่ร์มาชี้้านานแล้ว หลักฐานทางประวัต่ิศาสัต่ร์
ดังกล�าวมายู่ืนยู่ันได้ว�าการศาลข้องไทยู่มีความเจึริญมาแต่�เดิมและมีวิวัฒนาการก้าวหน้ามาต่ามลำาดับ
การสั่ญเสัียู่สัิทธิสัภาพินอกอาณาเข้ต่มีเหตุ่ผู้ลสั�วนหนึ�งมาจึากลัทธิล�าอาณานิคมข้องจึักรวรรดินิยู่ม