Page 204 - 47-2
P. 204

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                       ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
           194                                                  การศาลไทยก่อนและหลังการปฏิิรูปใน ร.ศ. ๑๑๐


           อารยู่ประเทศ ทำาให้สัามารถอำานวยู่ความยูุ่ต่ิธรรมแก�ประชี้าชี้นได้ดีกว�าเดิม และมีนัยู่สัำาคัญในการแยู่ก

           อำานาจึตุ่ลาการออกจึากอำานาจึฝ่่ายู่บริหาร ดังที�พิระเจึ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชี้บุรีดิเรกฤทธิ�

           (ร.ศ. ๑๒๑ : ๑๕๖-๑๕๗) ซึ่ึ�งทรงเป็นกำาลังสัำาคัญในการปฏิิร่ปการศาลดังกล�าว ได้เพิิ�มความสัำาคัญ
           และเน้นยู่ำ�าจึุดยู่ืนข้องผู้่้ทำาหน้าที�เป็นผู้่้พิิพิากษาว�าต่้องมีจึิต่ใจึกล้าหาญไม�หวั�นเกรงต่�ออิทธิพิลใด ๆ
           โดยู่เฉพิาะจึากฝ่่ายู่บริหารซึ่ึ�งเป็นผู้่้มีอำานาจึมากในบ้านเมือง ดังที�ทรงกล�าวไว้ในพิระนิพินธ์เรื�อง

           “พิงษาวดานกระทรวงยูุ่ต่ิธรรม” ในความต่อนหนึ�งว�า

                         “เหตุยากอย่างหนัึ�งในัการจัดีศาลหัวเมืองให�ดีีขุึ�นั ก็เพิราะว่าธุรการไม่ส้�
                    ยอมปล่อยอำานัาจขุองตนั เชิ่นัอย่างกรมพิระนัคีรบัาลเพิียนัคีืนัอำานัาจสำาเหร็จ
                    ไปเสมอ ๆ ฝ่ายตุลาการเปนัคีนัผู้้�นั�อยที่ั�งสติปัญญาแลยศ ไม่เอื�อเฟ้้�อก็ต�องแพิ�

                    ธุรการผู้้�มีอำานัาจเปนัเจ�าเมืองเสมอไป ศาลหัวเมืองไกลตาไกลมือก็ไม่มีผู้้�ใดีคี่อย

                    เขุี�ยเหมือนัอย่างศาลในักรุงเที่พิ”

                    การต่�อสั่้เพิื�อให้ได้คืนมาซึ่ึ�งเอกราชี้ทางการศาล โดยู่การพิัฒนาการศาลดังกล�าวมาแล้ว

           ซึ่ึ�งได้ดำาเนินการควบค่�กันไปกับการต่รากฎหมายู่ต่�าง ๆ ทั�งที�เป็นกฎหมายู่สัารบัญญัต่ิและกฎหมายู่วิธี
           สับัญญัต่ิ ซึ่ึ�งใชี้้เวลายู่าวนานต่�อเนื�องมาหลายู่รัชี้กาล ในรัชี้สัมัยู่พิระบาทสัมเด็จึพิระจึุลจึอมเกล้าเจึ้าอยู่่�หัว
           มีการประกาศต่ั�งกระทรวงยูุ่ต่ิธรรมในแบบสัมัยู่ใหม� ประกาศใชี้้กฎหมายู่ลักษณะอาญา ร.ศ. ๑๒๗

           กฎหมายู่เกี�ยู่วกับพิระธรรมน่ญศาล กฎหมายู่วิธีพิิจึารณาความในแบบสัมัยู่ใหม� และต่ั�งโรงเรียู่นกฎหมายู่

           ในรัชี้สัมัยู่นี�มีการประกาศใชี้้ประมวลกฎหมายู่แพิ�งและพิาณิชี้ยู่์ บรรพิ ๑ บททั�วไป บรรพิ ๒ ว�าด้วยู่หนี�
           และบรรพิ ๓ ว�าด้วยู่เอกเทศสััญญา ในระหว�างนั�นคดีสัำาคัญต่�าง ๆ ที�เกิดในราชี้อาณาจึักรซึ่ึ�งผู้่้กระทำา
           ความผู้ิดเป็นคนในบังคับต่�างประเทศต่้องต่กอยู่่�ในอำานาจึศาลต่�างประเทศต่ลอดมา เชี้�น ใน พิ.ศ. ๒๔๖๕

           เกิดคดีปลอมธนบัต่รไทยู่ชี้นิดฉบับละ ๑๐ บาทซึ่ึ�งกระทบต่�อเศรษฐกิจึข้องประเทศอยู่�างร้ายู่แรง

           ซึ่ึ�งนายู่พิลต่ำารวจึต่รี พิระพิิจึารณ์พิินิจึ (พิิจึารณ์ ดุละลัมพิะ) อดีต่อธิบดีกรมต่ำารวจึ เมื�อครั�งยู่ังมียู่ศเป็น
           นายู่ร้อยู่ต่ำารวจึโท รองสัารวัต่รกองพิิเศษ เป็นพินักงานสัืบสัวน   สัอบสัวนมีความบางต่อนว�า
                         “...ในัขุณะนัั�นัธนับััตรไที่ยชินัิดีฉบัับัละ ๑๐ บัาที่ ในัที่�องตลาดีมีปลอม

                    มาก และยากที่ี�จะที่ราบัไดี�ว่าฉบัับัไหนัปลอม และปลอมไดี�แนับัเนัียนัมาก...

                    ในัที่ี�สุดีก็สงสัยฝรั�งชิาติอังกฤษคีนัหนัึ�งเป็นัเจ�าขุองคีอกม�าแขุ่ง บั�านัอย้่ปลาย
                    ถ้นันัวิที่ยุ ที่างดี�านัเพิลินัจิตเป็นัตัวการในัเรื�องนัี� ...และการสืบัสวนัในัขุณะนัั�นั
                    สำาหรับัเฉพิาะชิาวต่างประเที่ศฝรั�งแล�วเป็นัที่ี�ยากเย็นัเพิียงไร...ไดี�ใชิ�นัายสิบั
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209