Page 194 - 47-2
P. 194

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                       ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
           184                                                  การศาลไทยก่อนและหลังการปฏิิรูปใน ร.ศ. ๑๑๐


                      เห็นได้ว�าหากเกิดคดีมรดกในราชี้ธานีเป็นอำานาจึข้องศาลมรดกที�มีขุ้นศรีราชี้บุต่รเป็น

           ขุ้นศาล หากเกิดคดีมรดกในหัวเมืองเป็นอำานาจึข้องศาลกรมมรดกหัวเมือง

                      ๑.๕  ความอุทธรณ์  ต่ามกฎหมายู่อยูุ่ธยู่า ความอุทธรณ์เป็นการกำาหนดหลักเกณฑ์์และ
           เงื�อนไข้การดำาเนินกระบวนพิิจึารณาในลักษณะต่�าง ๆ ที�ผู้ิดพิลาด ฝ่่าฝ่ืนกฎหมายู่ และปฏิิบัต่ิหน้าที�
           ไม�ยูุ่ต่ิธรรมด้วยู่ประการต่�าง ๆ ข้องต่ระลาการผู้่้พิิพิากษา อันเป็นเหตุ่ให้ค่�ความฝ่่ายู่หนึ�งฝ่่ายู่ใดอุทธรณ์คดี

           ในเรื�องค่�ความฝ่่ายู่นั�นกล�าวหาพิิพิาทกับผู้่้พิิพิากษาหรือตุ่ลาการเป็นคดีใหม� การกล�าวหาต่ระลาการ

           ผู้่้พิิจึารณามีหลายู่กรณี เชี้�น เข้้าข้้างค่�ความอีกฝ่่ายู่หนึ�ง แกล้งถามความให้ผู้ิดข้้อเท็จึจึริง แนะนำา
           เสัี�ยู่มสัอนค่�ความอีกฝ่่ายู่หนึ�ง  ทำาชี้่้กับค่�ความ รับฟ้้องและพิิจึารณาคดีที�ไม�อยู่่�ในอำานาจึข้องต่น
           รับฟ้้องคดีอุทลุมไว้พิิจึารณา ศาลหลวงเป็นผู้่้มีอำานาจึพิิจึารณาคดีอุทธรณ์ในราชี้ธานี และศาลหน้าโรง

           ผู้่้รักษาเมืองเป็นผู้่้มีอำานาจึพิิจึารณาคดีอุทธรณ์ในหัวเมือง และมีบทบัญญัต่ิที�กำาหนดถึงผู้ลที�จึะเกิดแก�

           คำาต่ัดสัินเดิม ผู้ลที�เกิดแก�ต่ระลาการผู้่้พิิพิากษาผู้่้ต่ัดสัินคดีเดิม และแก�ค่�ความผู้่้อุทธรณ์ด้วยู่ เชี้�น หาก
           รับฟ้ังได้ว�าต่ระลาการผู้่้พิิพิากษาปฏิิบัต่ิหน้าที�ผู้ิดพิลาดร้ายู่แรงที�เรียู่กว�า “องคอุธร” ซึ่ึ�งมี ๙ ประการ
           คำาต่ัดสัินเดิมจึะถ่กเพิิกถอน  ผู้่้ที�ต่ัดสัินความจึะถ่กลงโทษและต่้องรับผู้ิดในค�าเสัียู่หายู่ที�เกิดแก�ค่�ความ

           ฝ่่ายู่ที�เสัียู่หายู่ด้วยู่ แต่�หากได้ความว�าปฏิิบัต่ิหน้าที�ถ่กต่้องแล้ว ค่�ความฝ่่ายู่ที�อุทธรณ์จึะถ่กลงโทษ

           พิระอัยู่การอุทธรณ์ ใชี้้ความว�า
                            อันัว่าองคีอุธร ๙ ประการนัี� ถ้�ากระลาการแพิ�แก่โจที่สำานัวรเดีิมนัั�นั
                       เดีจ์ขุาดี ให�ยกสำานัวนัซื่ึ�งพิิจารณาไว�นัั�นัเสีย และ ๖ มาตราหนัึ�ง ผู้้�มีคีะดีี

                       กล่าวโที่ษผู้้�พิิภากษา ว่าพิิภากษาผู้ิดีให�เรียกเอาคีำาพิิภากษามาดี้ ถ้�าพิิภากษา

                       ผู้ิดีไซื่� ให�ผู้้�พิิภากษาเปนัขุ�อเลมิดี แล�วให�ใชิ�ที่รัพิยเที่่าพิิภากษาผู้ิดี ถ้�าพิิภากษา
                       ต�องดี�วยพิระธรรมสาตรราชิสาตรไซื่� ให�ไหมผู้้�กล่าวหาสองเที่่าพิิภากษา
                       อันัต�องดี�วยพิระธรรมสาตรราชิสาตรนัั�นั (กฎหมายู่ต่ราสัามดวง ฉบับ

                       ราชี้บัณฑ์ิต่ยู่สัถาน เล�ม ๑ : ๔๑๕)

                      สั�วนคดีอุทธรณ์ปัจึจึุบันเป็นเรื�องที�ค่�ความยู่ังไม�เห็นพิ้องกับคำาพิิพิากษาข้องศาลชี้ั�นต่้น

           จึึงทำาการยู่ื�นอุทธรณ์ต่�อศาลสั่งให้พิิจึารณาอีกครั�งโดยู่ต่้องฟ้ังพิยู่านหลักฐานต่�าง ๆ ในสัำานวนที�ได้

           ดำาเนินการมาทั�งหมดในศาลชี้ั�นต่้น ต่ามปรกต่ิไม�มีการสัืบหรือแสัวงหาพิยู่านหลักฐานใหม�ในชี้ั�น
           ศาลอุทธรณ์ ความอุทธรณ์ในสัมัยู่อยูุ่ธยู่าจึึงเป็นคนละความหมายู่และมีความแต่กต่�างไปจึากความ
           อุทธรณ์ปัจึจึุบัน
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199