Page 192 - 47-2
P. 192

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                       ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
           182                                                  การศาลไทยก่อนและหลังการปฏิิรูปใน ร.ศ. ๑๑๐


           การกบฏิต่ามพิระอัยู่การกบฏิศึก และ “ความอาชี้ญาราษฎร์” คือคดีความที�ถือเป็นโทษราษฎร์ ซึ่ึ�งเป็น

           การกระทำาความผู้ิดระหว�างราษฎรด้วยู่กันต่ามบทบัญญัต่ิต่�าง ๆ ในพิระอัยู่การอาชี้ญาราษฎร์ เชี้�น

           ทำาข้�มเหงจึองจึำาผู้่้อื�นโดยู่มิชี้อบ ซึ่ึ�งพิระธรรมน่ญกำาหนดว�า คดีที�กล�าวหากันเป็น “ความอาชี้ญา
           ราษฎร์” ได้แก�การกระทำาผู้ิดเรื�อง “ถ้�าหาอาชิาแก่กันัว่า มิไดี�มีโฉนัฏบัาดีหมายที่ำาขุ่มเหงเกาะกุม
           ยื�อชิักผู้ลักไสเอาที่่านัมามัดีผู้้กทีุ่บัถ้องตีดี่าจำาจองโส�ตรวนัขุื�อคีาใส่กลังไว�โดียพิะละการเอง ลงเอา

           ที่รัพิยสิ�งสีนัสิ�งหนัึ�งสิ�งใดีมาไว�เปนัอนัาประโยชินัแก่อาตมา แลที่ำาขุ่มขุืนัล้กคีวามก็ดีี” ถ้าคดีซึ่ึ�ง

           ผู้่้กระทำาผู้ิดมีสัถานะเป็นต่ระลาการและเกิดในราชี้ธานีจึะอยู่่�ในอำานาจึข้องศาลอาชี้ญาราษฎร์ซึ่ึ�งสัังกัด
           ฝ่่ายู่มหาดไทยู่ ซึ่ึ�งในพิระธรรมน่ญใชี้้คำาว�า “เปนต่ระทรวงอาชี้าสัาลราษได้พิิจึารณา” ถ้าคดีเกิดใน
           หัวเมืองจึะอยู่่�ในอำานาจึข้องศาลหัวเมือง ศาลขุ้นปลัด หรือศาลรองปลัด เป็นผู้่้พิิจึารณา ถ้าคดีซึ่ึ�ง

           ผู้่้กระทำาผู้ิดฐานนี�มีสัถานะเป็นราษฎรจึะเรียู่กว�า “ความอาชี้านอก” ซึ่ึ�งหากเกิดคดีข้ึ�นจึะอยู่่�ในอำานาจึ

           ข้องศาลขุ้นประชี้าเสัพิซึ่ึ�งสัังกัดฝ่่ายู่กลาโหมเป็นผู้่้มีอำานาจึพิิจึารณา เหตุ่ที�กำาหนดให้ศาลในสัังกัด
           ฝ่่ายู่ทหารมีอำานาจึพิิจึารณาคดีประเภทนี� พิระบาทสัมเด็จึพิระจึุลจึอมเกล้าเจึ้าอยู่่�หัว (๒๔๗๐ : ๓๔)
           ทรงมีพิระบรมราชี้าธิบายู่แก้ไข้การปกครองแผู้�นดินเป็นความต่อนหนึ�งว�า “ซื่ึ�งเอาไปไว�ในักรม

           พิระกลาโหมนัั�นัก็จะมีคีวามประสงคี์ที่ี�จะให�มีอำานัาจในัการเกาะคีรองผู้้�คีนัให�แขุงแรงขุึ�นั เพิราะคีวาม

           อาญาจำาเลยย่อมจะเป็นัผู้้�มีอำานัาจฤๅเกะกะโดียมาก”  ถ้าคดีดังกล�าวซึ่ึ�งผู้่้กระทำาผู้ิดมีสัถานะเป็น
           สัมในจึะเป็นอำานาจึข้องศาลขุ้นอินอาชี้าซึ่ึ�งเป็นศาลอาญาวังเป็นผู้่้พิิจึารณา และยู่ังมีความอาชี้ญา
           อีกประเภทหนึ�งซึ่ึ�งถือเป็นการกระทำาที�ยูุ่ยู่งให้ราษฎรเป็นความกันทำาให้เกิดความยูุ่�งยู่ากแก�แผู้�นดิน

           เกี�ยู่วกับการอำานวยู่ความยูุ่ต่ิธรรมคือ การเข้้ามาดำาเนินคดีแทนราษฎรที�เป็นโจึทก์หรือจึำาเลยู่ หรือ

           แต่�งฟ้้องให้ราษฎรซึ่ึ�งเป็นโจึทก์หรือจึำาเลยู่เป็นความกัน โดยู่ที�ไม�มีสัิทธิคือมิได้เป็นญาต่ิพิี�น้องข้องโจึทก์
           หรือจึำาเลยู่แต่�งมาแอบอ้างว�าเป็น คดีประเภทนี�เกิดในราชี้ธานีจึะอยู่่�ในอำานาจึข้องศาลอาชี้ญาจึักร
           ซึ่ึ�งสัังกัดฝ่่ายู่มหาดไทยู่ ถ้าคดีเกิดในหัวเมืองเป็นอำานาจึข้องศาลอาชี้ญาหัวเมือง ดังความในพิระธรรมน่ญ

           ว�า “ถ้�าหากันัว่ามิไดี�เปนัญาติพิี�นั�องว่าเปนัญาติพิี�นั�องประกันัเขุ�าว่าเนัื�อคีวามต่างกันัราษฎรก็ดีี

           แต่งคีารมเขุียนัหนัังสือให�แก่ราษฎรร�องฟ้้องหาคีวามกันัประการนัี�เปนัตระที่รวงอาชิาจักรไดี�พิิจารณา
           ถ้�าหัวเมืองสาลอาชิาไดี�พิิจารณา” (กฎหมายู่ต่ราสัามดวง ฉบับราชี้บัณฑ์ิต่ยู่สัถาน เล�ม ๑ : ๑๐๘)
                      ๑.๓  ความนครบาล  เป็นคดีอุกฉกรรจึ์มหันต่โทษทั�งหลายู่ เชี้�น ฆ่�ากันต่ายู่ ความโจึรผู้่้ร้ายู่

           ปล้นฆ่�าเจึ้าทรัพิยู่์ ใชี้้กฤต่ิยู่ามนต่์วางยู่าพิิษทำาร้ายู่กันถึงต่ายู่  เรียู่กว�าความนครบาล ในพิระธรรมน่ญ

           ใชี้้ความว�า
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197