Page 191 - 47-2
P. 191
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
นายกฤษฎา บุุณยสมิิต 181
ทางอาญาใด ๆ มาเกี�ยู่วข้้อง แต่�ความแพิ�งในอดีต่เป็นคดีพิิพิาทในเรื�อง เชี้�น คดีเกี�ยู่วกับเรื�องด�า
สับประมาทกัน ทำาร้ายู่ร�างกายู่กันไม�ถึงเป็นอันต่รายู่สัาหัสั การกระทำาอนาจึาร ลักทรัพิยู่์ ก่้หนี� ฟ้้องหยู่�า
ข้อแบ�งทรัพิยู่์สัิน ต่�างถือเป็นคดีแพิ�งทั�งสัิ�น ดังความต่ามพิระธรรมน่ญในกฎหมายู่ต่ราสัามดวงที�กำาหนด
ประเภทคดีที�เป็นความแพิ�งซึ่ึ�งในพิระธรรมน่ญในคำาว�า “ต่ระทรวงแพิ�ง” มีความต่อนหนึ�งว�า
หากันัว่าดี่าสประมาที่ประการใดีก็ดีี แพิละโลมหยิกหยอกล�วงแยงเมีย
ที่่านัล้กสาวหลานัสาวที่่านั แลขุ่มขุืนัมิไดี�ถ้ึงชิำาเราก็ดีี ...ลักเอาผู้้�คีนัชิ�างม�าโคี
กระบัือที่รัพิยสิ�งใดีขุองที่่านัเจ�าเรือนัซื่ึ�งมิไดี�ให�อาไศรยมาฟ้้องหาเจ�าเรือนัผู้้�ให�
อาไศรยก็ดีี ผู้ัวเมียหย่ากันัแบั่งสิ�งขุอง...รับัสิ�งขุองฝากเชิ่าจำานัำาแลบัังกัดีคี่า
ขุายคีนัแก่ที่่านัก็ดีี แลเอาชิ�างม�าโคีกระบัือเรือเกวียนัสิ�งใดีไปมิไดี�บัอกแก่เจ�าขุอง
แลพิรางว่าไดี� แลไถ้่ขุ�าที่่านัตีกันัถ้ึงสาหัศ ขุ�าลักขุองเจ�าไปฝากมีผู้้�รับัก็ดีี
แลขุองที่่านัหายมีผู้้�ออกเจบัก็ดีี ถ้่มนัำ�าลายรดีหัวที่่านัต�องที่่านั แลสิ�งอันั
โสกโคีรกต�องที่่านั ผู้ัวที่่านัมิอย้่ตนัขุึ�นัไปหาเมียที่่านัถ้ึงที่ี�นัอนัที่ำาชิ้�ดี�วยเมียที่่านั
แลขุ่มขุืนักอดีจ้บัเมียที่่านัล้กที่่านัหลานัที่่านัถ้ึงชิำาเราก็ดีี...กล่าวมาที่ังนัี�เปนั
ตระที่รวงแพิ่ง (ราชี้บัณฑ์ิต่ยู่สัถาน, ๒๕๕๐ : ๑๐๘-๑๐๙)
สั�วนศาลที�มีอำานาจึชี้ำาระคดีข้ึ�นอยู่่�กับสัถานะข้องจึำาเลยู่ด้วยู่ว�าเป็นสัมใน ซึ่ึ�งเป็น เลก
หมายู่ถึงชี้ายู่ฉกรรจึ์หรือพิลเมืองชี้ั�นสัามัญ ซึ่ึ�งโบราณเรียู่กว�า ไพิร�ที�สัังกัดอยู่่�กับเจึ้านายู่ฝ่่ายู่ใน หรือสัมนอก
ไพิร�ที�สัังกัดอยู่่�กับม่ลนายู่ฝ่่ายู่หน้าซึ่ึ�งเป็นขุ้นนางผู้่้ใหญ�ทั�งหลายู่ และต่้องพิิจึารณาด้วยู่ว�าเป็นคดีที�เหตุ่เกิด
ในที�ใด หากเกิดในราชี้ธานีเป็นอำานาจึพิิจึารณาคดีข้องศาลแพิ�งวัง ดังความว�า “ถ้าจึำาเลยู่เปนสัมใน คือ
ในกรมพิระเจึ้าล่กเธอพิระเจึ้าหลานเธออันหากรมมิได้ แลกรมฝ่่ายู่ใน...กรมวังได้พิิจึารณา” หากเกิดใน
หัวเมืองเป็นอำานาจึพิิจึารณาคดีข้องศาล ดังความว�า “ถ้าหัวเมืองเปนต่ระทรวงขุ้นสัุพิมาต่รา รองขุ้น
สัุพิมาต่รา ได้พิิจึารณา” (ราชี้บัณฑ์ิต่ยู่สัถาน, ๒๕๕๐ : ๑๐๘-๑๐๙)
๑.๒ ความอาชี้ญา ความอาชี้ญาหรือความอาญาต่ามกฎหมายู่อยูุ่ธยู่า เมื�อวิเคราะห์จึาก
บทบัญญัต่ิในพิระธรรมน่ญข้องกฎหมายู่ต่ราสัามดวง จึะพิบว�ามีการแบ�งการกระทำาความผู้ิดทางอาญา
ซึ่ึ�งกฎหมายู่เก�าใชี้้คำาว�า “อาชี้า” เข้ียู่นแบบปัจึจึุบันเป็น “อาชี้ญา” ต่ามพิระอัยู่การอาชี้ญาหลวงซึ่ึ�ง
แบ�งลักษณะการกระทำาผู้ิดเป็น “ความอาชี้ญาหลวง” คือคดีความที�มีโทษหลวง ซึ่ึ�งสั�วนใหญ�เป็นการ
กระทำาความผู้ิดต่�อพิระเจึ้าแผู้�นดินและต่�อความมั�นคงและความสังบสัุข้ข้องประชี้าชี้นต่ามบทบัญญัต่ิ
ต่�าง ๆ ในพิระอัยู่การอาชี้ญาหลวง เชี้�น ยู่ักยู่อกทรัพิยู่์ข้องพิระเจึ้าอยู่่�หัว หรือการกระทำาต่�าง ๆ ที�ถือเป็น