Page 74 - 46-1
P. 74
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
66 พระมหากษััตริย์์ไทย์กับประพฤติธรรม ๔ ประการในพระธรรมศาสตร์
บดินทร์ดังกลั่าวมาแลั้ว ทรงทำานุบำารุงการพาณิชย์์ให้ม่การติดต่อคั้าขาย์กับประเทศต่าง ๆ โดย์เฉพาะ
ประเทศจ่นอย์่างกว้างขวาง ไทย์ม่เรือสำาเภาของหลัวงแลัะของเอกชนท่�เป็นเรือสินคั้าหลัาย์ร้อย์ลัำา
ส่งออกไปคั้าขาย์กับจ่นได้กำาไรมาก เพราะจ่นเป็นตลัาดรับซึ่ื�อผู้ลัิตผู้ลัวัตถึุดิบจากไทย์ เช่น ข้าว ไม้
เคัรื�องเทศ หนังสัตว์ เขาสัตว์ พริกไทย์ รวมทั�งสมุนไพรของป่า ปรากฏิหลัักฐานว่า ร้อย์เอก เฮุนร่
เบอร์น่ย์์ (Henry Burney) ท้ตอังกฤษัท่�เข้ามาเจรจาการทำาสนธิสัญญาทางการคั้ากับไทย์ในสมัย์นั�น
ได้ราย์งานการคั้าระหว่างกรุงเทพฯ กับเมืองท่าของจ่นว่า แต่ลัะปีม่สำาเภารวมระวางประมาณ
๓๐,๐๐๐ ตัน ถึ้กส่งจากกรุงเทพฯ ไปย์ังเมืองจ่น แลัะย์ังม่สำาเภาขนาดเลั็กเดินทางคั้าขาย์ระหว่าง
ไทย์กับญวนใต้ เขมร ชวา แลัะเมืองท่าในคัาบสมุทรมลัาย์้แลัะสิงคัโปร์ แลัะท่�อื�น ๆ จึงเริ�มม่การผู้ลัิต
เพื�อส่งออกมากขึ�นแลัะทรงพระราชดำาริว่า “ให้อาณาประชิาราษีฏรทำามาหากินั คี้าขายให้เป็นั
ประโยชินั์ทั�วกันั” (สำานักงานราชบัณฑิิตย์สภา, ๒๕๖๓ : ๑๙๙)
การรวบรวมราย์ได้แผู้่นดินในรัชสมัย์พระบาทสมเด็จพระนั�งเกลั้าเจ้าอย์้่หัวจึงเกิดจากการ
คั้าขาย์เป็นส่วนใหญ่ แลัะทรงปรับปรุงการเก็บภาษั่ทั�งเก่าแลัะใหม่ ซึ่ึ�งส่วนใหญ่จัดเก็บในระบบเจ้าภาษั่
นาย์อากร ราย์ได้ของประเทศเกิดขึ�นเป็นกอบเป็นกำาเป็นงบประมาณบำารุงแผู้่นดินได้เต็มท่� ข้าราชการ
ได้รับพระราชทานเบ่�ย์หวัดมากขึ�น ถึึงขนาดม่เงินเก็บสำารองรักษัาไว้ในถึุงแดงจำานวนหลัาย์หมื�นชั�ง
ซึ่ึ�งเงินจำานวนน่�ได้ม่ส่วนช่วย์เหลัือให้ไทย์พ้นจากคัวามย์ากลัำาบากเมื�อคัรั�งเกิดวิกฤติการณ์ระหว่างไทย์
กับฝ่รั�งเศสในรัชสมัย์พระบาทสมเด็จพระจุลัจอมเกลั้าเจ้าอย์้่หัว เมื�อ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖)
ประพฤติธรรมประการท่� ๔ คัือ “รักษีาพระนัคีรราชิเสมาให้ศุขเกษีมโดั่ยยุติธรรม” เมื�อ
เสด็จขึ�นคัรองราชสมบัติ พระบาทสมเด็จพระนั�งเกลั้าเจ้าอย์้่หัวทรงห่วงใย์ราษัฎรท่�ทุกข์ย์ากเพราะ
ไม่ได้รับคัวามเป็นธรรมในเรื�องต่าง ๆ จึงทรง “ประพฤติตามอย�างพระบัาทสมเดั่็จ้พระพุทธยอดั่ฟ้า
จุ้ฬาโลก เวลาเชิ้าเสวยเคีรื�องว�างแล้วเสดั่็จ้ออกปฏิบััติพระสงฆ์์ แล้วก็ทรงฟังรายงานัคีลังมหาสมบััติ
แล้วเสดั่็จ้ข่�นัพระแท�นัออกว�าราชิการ พระวงศานัุวงศ์เข้าเฝ่้าพร้อมกันัดั่้วยตำารวจ้ ทรงไต�ถาม
ดั่้วยเนัื�อคีวามฎีกา คีรั�งนัั�นัเมื�อต้นัแผิ�นัดั่ินั ราษีฎรก็ร้องถวายฎีกาไดั่้ต�อเมื�อเวลาเสดั่็จ้ออกนัอก
พระราชิวัง...” [เจ้าพระย์าทิพากรวงศ์มหาโกษัาธิบด่ (ขำา บุนนาคั), ๒๕๔๗ : ๑๔๙]
ต่อมา หลัังจากเสด็จขึ�นคัรองราชสมบัติได้ราว ๑๓ ปี เมื�อ พ.ศ. ๒๓๗๙ เจ้าพระย์าพระคัลััง
(ดิศ บุนนาคั) (ต่อมาคัือสมเด็จเจ้าพระย์าบรมมหาประย์้รวงศ์) ออกไปบ้รณะเมืองจันทบุร่ ได้ทำา
กลัองใหญ่ด้วย์ไม้รักขนาดโต ๑๓ กำา (เส้นผู้่านศ้นย์์กลัาง ๖๒ เซึ่นติเมตร ส้ง ๑๓๖ เซึ่นติเมตร) เข้ามา
ถึวาย์ จึงม่พระราชดำาริบรรเทาทุกข์ให้ราษัฎรได้ร้องฎ่กาด้วย์การต่กลัองได้ทุกวันไม่ต้องรอเวลัา
เสด็จออก พระราชทานนามกลัองว่า กลัองวินิจฉัย์เภร่