Page 68 - 46-1
P. 68
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
60 พระมหากษััตริย์์ไทย์กับประพฤติธรรม ๔ ประการในพระธรรมศาสตร์
ตามพระราชกำาหนดใหม่ ฉบับท่� ๙ ตราขึ�นเมื�อจุลัศักราช ๑๑๔๖ (พ.ศ. ๒๓๒๗) ว่าทรงห้ามผู้้้ท่�เป็น
คัวามพิพาทกันเป็นคัด่แพ่งหรือคัด่มรดกประสงคั์จะได้คัวามสะดวกจึงคัิดอ่านฟ้้องร้องกันโดย์อ้างว่า
ชนะคัด่ได้ทรัพย์์มาแลั้วจะถึวาย์บางส่วนแก่พระมหากษััตริย์์บ้าง พระบรมวงศานุวงศ์ผู้้้ใหญ่ต่าง ๆ บ้าง
เป็นเหตุให้คั้่คัวามฝ่่าย์ตรงข้ามเกรงกลััว หรือตระลัาการผู้้้พิจารณาลัำาเอ่ย์งเพราะอย์ากได้ทรัพย์์เป็น
ของหลัวง จึงทรงห้ามถึวาย์ทรัพย์์ดังกลั่าวเป็นอันขาด ผู้้้ใดฝ่่าฝ่ืนจะม่โทษั ดังคัวามว่า
...ทรงพระกรรุณาตรัสเหนัือเกล้าฯ สั�งว�า ทุกวันันัี�หาเอื�อเฟ้�อดั่้วยพัศดัุ่ะ
เงินัทองไม� รักพระสาศนัา อนัาประชิาราษีฎรยี�งกว�าพัศดัุ่เงินัทอง ร้อยเท�าพันัทวี
อีก...รักษีาแผิ�นัดั่ินัโดั่ยยุติธรรม ไพร�ฟ้าประชิากรไดั่้อย่�ศุกขเยนัใจ้ บั้านัเมือง
ก็สมบั่รรณหาไภยอันัรายมิไดั่้...คีวามแพ�งมรฎก...หากันั...ติดั่พันักันั เจ้้าของ
เหนัขัดั่สนั จ้ะมิไดั่้โดั่ยสดั่วก จ้่�งคีิดั่อ�านัร้องฟ้องทำาหางว�าวให้กราบัท่ลถวาย
เปนัหลวงบั้าง รับัพระราชิทานับั้าง ปราถนัาจ้ะไดั่้พระเดั่ชิเดั่ชิานัุภาพปกแผิ�ไป
ให้ว�ากล�าวโดั่ยอิจ้ฉารม...ผิ่้ต้องพิภาษีเปนัคีนัอนัาถาหาที�พ่�งมิไดั่้สัติปัญานั้อย
ก็กลัวเกรง ฝ่่ายผิ่้ไดั่้พิจ้ารณาว�ากล�าวบัางคีนัก็ลำาเอียงไปว�าทรัพจ้ะไดั่้เปนัหลวง
เขม้นัว�ากล�าวกันัโชิกข�มขี�จ้เอาแต�ทรัพเปนัหลวงจ้งไดั่้...หาเปนัยุศติธรรมไม�…
ห้ามอย�าให้ผิ่้ใดั่เอาท่ลเกล้า ฯ ถวายเปนัอันัขาดั่ทีเดั่ียว...จ้ะเอาตัวผิ่้ถวายผิ่้รับัสั�ง
เจ้้าทรัพยแลผิ่้เปนัตระลาการเปนัโทษีตามโทษีาณุโทษี (ราชบัณฑิิตย์สถึาน,
๒๕๕๐(๒) : ๕๘๒-๕๘๔)
สำาหรับข้าราชการผู้้้รวบรวมพระราชทรัพย์์ให้ท้องพระคัลัังมั�งคัั�งโดย์ไม่ทำาให้ราษัฎรเดือดร้อน
ถึือเป็นผู้้้ม่บำาเหน็จสำาคััญแก่ราชการ ดังปรากฏิคัวามในพระอัย์การอาชญาหลัวงท่�ตราขึ�นเมื�อ พ.ศ. ๑๘๙๕
ในรัชสมัย์สมเด็จพระรามาธิบด่ท่� ๑ (พระเจ้าอ้่ทอง) ม่คัวามตอนหนึ�งว่า “...ผิ่้บัำารุงพระราชิทรัพยในั
ท้องพระคีลัง ให้มั�งคีั�งบัริบั่รณโดั่ยประเวนัีธรรมแลหมีให้เคีืองใจ้ราษีฎร ก็เปนับัำาเหนัดั่ประการ ๑...”
(ราชบัณฑิิตย์สถึาน, ๒๕๕๐(๒) : ๓๖๘)
ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลัท่� ๑ ฉบับเจ้าพระย์าทิพากรวงศ์ (ขำา บุนนาคั)
ปรากฏิหลัักฐานของหลัักประพฤติธรรมในเรื�องการรวบรวมพระราชทรัพย์์โดย์ย์ุติธรรม ดังเห็นได้ว่า
ราย์ได้ของแผู้่นดินท่�เก็บในร้ปภาษั่ต่าง ๆ จากราษัฎรม่ไม่มากนัก แต่ราย์ได้แผู้่นดินส่วนใหญ่ได้มาจาก
การคั้าสำาเภากับจ่น ว่า