Page 64 - 46-1
P. 64
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
56 พระมหากษััตริย์์ไทย์กับประพฤติธรรม ๔ ประการในพระธรรมศาสตร์
เพื�อคัวามสงบเร่ย์บร้อย์ในสังคัมแลัะคัวามมั�นคังของพระราชอาณาจักร แม้ต่อมาจะม่การย์กเลัิก
กฎหมาย์ตราสามดวงไปแลั้ว แต่ไม่ปรากฏิว่าเคัย์ม่ประกาศย์กเลัิกพระธรรมศาสตร์แต่อย์่างใด แลัะ
แม้พระมหากษััตริย์์ในระบอบประชาธิปไตย์จะมิได้ทรงม่พระราชอำานาจเช่นในระบอบสมบ้รณาญา-
สิทธิราชย์์ แต่ก็ทรงย์ึดมั�นในหลัักธรรมน่�มาโดย์ตลัอด
นอกจากน่� จากการศึกษัาพบว่า ประพฤติธรรม ๔ ประการเป็นหลัักการท่�สำาคััญสำาหรับ
พระมหากษััตริย์์ผู้้้คัรองแผู้่นดินโดย์ธรรมมาแต่สมัย์สุโขทัย์แลั้ว ดังปรากฏิในไตรภ่มิกถา พระราชนิพนธ์
ของพระมหาธรรมราชาท่� ๑ (ลัิไทย์) ว่า สมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชทรงสั�งสอนท้าวพญาทั�งหลัาย์
ให้อย์้่ในธรรมว่า “จ้งต�งงอย่�ในัทศมิตราชิธมมทังหลาย ๑๐ ปรการ” (กรมศิลัปากร, ๒๕๕๕) รวมทั�ง
เรื�องบาป ๕ ประการหรือเบญจศ่ลั แลัะในคัำาสอนดังกลั่าวม่เรื�องหลัักธรรมท่�ตรงกับ “ประพฤติธรรม
๔ ประการ” ในพระธรรมศาสตร์ด้วย์ คัือ ประพฤติธรรมประการแรก การลีงโทษัผูู้�สมควรถููกลีงโทษั
แลีะให�รางวัลีผูู้�ที�ประกอบคุณความดีี ม่คัำาสอนเรื�องการให้รางวัลัว่า “อนั่งขาคีนัใพรฟาขาคีนัคีือว�า
ผิ่ใดั่ๆ กดั่ี แลกทำาคีวามชิอบัให้ใดั่้เปนัปรเยาชินัแกทาวพรญาดั่วยยคีวามอันัชิอบัของเขานัันัใส
ดั่วยใสใหรังวันัแกผิ่นัันัตามมา แลนัอยหนัักแลเบัา” (กรมศิลัปากร, ๒๕๕๕) แลัะประพฤติธรรม
ประการท่� ๒ ทำานุบำารุงผูู้�มีความรู�แลีะมีศีลีสัตย์์ ในไตรภ่มิกถาระบุว่า “อนั่งให้เลียงดั่่รักสาสมณ
พราหมณแลนัักปราชิญราชิบััณฑิิตยผิ่ร่ธมมๆ มานัันัให้นัังอย่ทีส่งแล้ว ๆ จ้ิงถามเถิงธมมอันัปรเสตติ
นัันัแล” (กรมศิลัปากร, ๒๕๕๕) ประพฤติธรรมประการท่� ๓ การรวบรวมให�ไดี�มาซึ่่�งพระราชูทรัพย์์
โดีย์ย์ุติธรรม ม่ว่า “ไพรฟ้าข้าไทยราษีฎรทังหลายทำาไรไถนัาในัแผิ�นัดั่ินัเรานัี�เมื�อไดั่้เข้านัั�นัเปนัรวง...”
ให้ทำาข้าวเปลัือกเป็น ๑๐ ส่วน เอาเป็นของหลัวง ๑ ส่วน แลัะ ๙ ส่วนให้แก่ราษัฎรผู้้้ทำาไร่ ถึ้าไม่ได้ข้าว
มิคัวรเอาเข้าเป็นของหลัวงคัือ “ผิิแลดั่่เหนัวาเขามิใดั่เข้านัันัใสมีคีวรเอาแกเข้าเลย” (กรมศิลัปากร,
๒๕๕๕) แลัะหากไพร่ฟ้้าข้าไทคั้าขาย์ แลัะขอก้้เงินเป็นทุน ผู้้้เป็นท้าวพระย์าคัวรให้ย์ืมเงินในท้องพระคัลััง
โดย์ “เราผิ่เปนัใทบัมิคีวรเอาเปนัดั่อกเปนัปลายแกเขาเลย คีวรใหเริยกเอาแต�เทาทุนัเกานัันั”
(กรมศิลัปากร, ๒๕๕๕) ส่วนประพฤติธรรมประการสุดท้าย์ การปกครองพระราชูอาณาเขตให�
ประชูาชูนมีความสุขเกษัมโดีย์ย์ุติธรรมนั�น กำาหนดว่า “แมนัจ้บัังคีับัถอยคีวามของใพรฟาข้าใทย
ทงหายใสญาใดั่ว�าโพนั ๆ ว�าพี ๆ ดั่าตีกันับัังคีับัถอยคีวามนัันัให้ถ่กถวนัโดั่ยธมม์พิจ้จ้ารณาร่ปคีวามนัันั
แตตนัจ้นัปลายให้ตรลอดั่รอดั่แล้วจ้ิงบัังคีับัดั่้วยใจ้ อันัฌืืออันัตรงนัันัแล” (กรมศิลัปากร, ๒๕๕๕)
การศึกษัาถึึงหลัักการปกคัรองแลัะหลัักการบริหารราชการแผู้่นดินตามหลัักประพฤติธรรม
๔ ประการ โดย์เน้นศึกษัาวิเคัราะห์พระราชกรณ่ย์กิจแลัะเหตุการณ์สำาคััญในแต่ลัะรัชกาลัจากหลัักฐาน
ท่�ปรากฏิในกฎหมาย์เก่า จดหมาย์เหตุ พระราชพงศาวดาร พระราชหัตถึเลัขา แลัะพระบรมราโชวาท