Page 66 - 46-1
P. 66

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑  มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
           58                                       พระมหากษััตริย์์ไทย์กับประพฤติธรรม ๔ ประการในพระธรรมศาสตร์


           เจ้้าพนัักงานัยื�นั ถ้ายื�นัโทษีถ่งตาย” (ราชบัณฑิิตย์สถึาน, ๒๕๕๐(๒) : ๑๔๖) หม่อมราชวงศ์เสน่ย์์

           ปราโมชเคัย์กลั่าวไว้ในการปาฐกถึากฎหมาย์อย์ุธย์าว่า กฎหมาย์ในอด่ตบทน่�เป็นบทกฎหมาย์ท่�น่าภ้มิใจ

           อ่กบทหนึ�งของประวัติศาสตร์ชาติไทย์แลัะหาได้ย์ากย์ิ�งในบทกฎหมาย์ของชาติใด ๆ ในโลักท่�ผู้้้ทรงไว้ซึ่ึ�ง
           พระราชอำานาจกลัับทรงบัญญัติกฎหมาย์จำากัดพระราชอำานาจของพระองคั์เอง นอกจากน่�ย์ังม่การ
           ทัดทานพระราชอำานาจได้อ่กด้วย์ ดังปรากฏิในกฎมณเฑิ่ย์รบาลั มาตราหนึ�งว่า “อนั่�งพระเจ้้าอย่�หัว

           ดั่ำารัสตรัสดั่้วยกิจ้ราชิการคีดั่ีถ้อยคีวามประการใดั่ ๆ ต้องกฎหมายประเวณีเปนัยุติธรรมแล้วให้

           กระทำาตาม ถ้าหมีชิอบัจ้งอาจ้พิดั่ท่ลทัดั่ทานัคีรั�ง  คีรั�ง ถ้าหมีฟังให้งดั่ไว้อย�าเพ�อสั�งไปให้ท่ล
           ในัที�ระโหถานั ถ้าหมีฟังจ้่�งให้กระทำาตาม ถ้าผิ่้ใดั่มิไดั่้กระทำาตามพระอายการดั่ั�งนัี� ท�านัว�าผิ่้นัั�นัแลมีดั่
           พระราชิอา ” (ราชบัณฑิิตย์สถึาน, ๒๕๕๐(๒) : ๑๙๑)

                    หลัวงประดิษัฐ์มน้ธรรม (ปร่ด่ พนมย์งคั์) กลั่าวถึึงพระราชอำานาจของพระมหากษััตริย์์ใน

           ระบอบสมบ้รณาญาสิทธิราชย์์ว่า “แม้พระราชิานัุภาพของพระบัาทสมเดั่็จ้พระเจ้้าอย่�หัวจ้ะไม�มี
           บัทกฎหมายจ้ำากัดั่ไว้ก็ดั่ี พระองคี์ก็ยังทรงดั่ำารงไว้ซึ่่�งทศพิธราชิธรรม จ้ักรวรรดั่ิวัตรจ้รรยาและอื�นั ๆ
           (หลัวงประดิษัฐ์มน้ธรรม, ๒๔๗๔ : ๔๓) แลัะพระวรวงศ์เธอ กรมหมื�นพิทย์าลังกรณ์ ทรงพระนิพนธ์เรื�อง

           “ทรรศนัะของคีนัไทยแต�ก�อนัในัเรื�อง ตำาแหนั�งหนั้าที�ของพระมหากษีัตริย์” ว่า คััมภ่ร์พระธรรมศาสตร์

           กลั่าวถึึงพระมหากษััตริย์์ว่าเป็นผู้้้ทรงธรรมิกราชแลัะมหาสมมุติราช ทรงตั�งอย์้่ในทศพิธราชธรรมแลัะ
           ทรงไว้ซึ่ึ�ง “ประพฤทธิธรรม ๔ ประการ” แลัะพระย์าศร่วิสารวาจา (เท่ย์นเลั่�ย์ง ฮุุนตระก้ลั) อด่ตองคัมนตร่
           กลั่าวถึึงประพฤติธรรม ๔ ประการไว้ว่า  ตามประเพณ่ของไทย์ พระมหากษััตริย์์ทรงเป็นผู้้้นำาราษัฏิร

           พระราชกิจประจำาวันของพระองคั์ใกลั้ชิดกับคัวามเป็นอย์้่ของราษัฏิรแลัะเพื�อทรงสามารถึปฏิิบัติ

           พระราชภาระของพระมหากษััตริย์์ด้วย์ด่

                      พระมหากษีัตริย์จ้่งทรงตั�งอย่�ในัทศพิธราชิธรรม และรักษีาไว้ซึ่่�งประพฤทธิธรรม
                    สี�ประการ ถ้าเราศ่กษีาทศพิธราชิธรรมและประพฤทธิธรรมสี�ประการข้างต้นันัี�

                    ให้ละเอียดั่ถี�ถ้วนัแล้วจุ้ดั่ประสงคี์อันัสำาคีัญของธรรมเหล�านัี� ก็เพื�อเป็นัหลักประกันั
                    ที�จ้ะให้พระมหากษีัตริย์ไดั่้ทรงมีไว้พร้อมซึ่่�งคีวามมีศีล มีสัจ้จ้ะ คีวามเที�ยงธรรม
                    ไม�ลำาเอียง คีวามเผิื�อแผิ� เมตตากรุณา รวมทั�งมีศีลธรรมเป็นัอย�างส่ง หรืออีกนััยหนั่�ง

                    ก็เพื�อให้พระองคี์เป็นัเหมือนัหนั่�งศ่นัย์รวมของคีุณธรรมทั�งปวง อันัเป็นัที�เคีารพ
                    นัับัถือกันัอย่�แล้วทั�วไปในัประเทศ ดั่้วยคีวามมุ�งหวังว�า ในัระบับัการปกคีรอง

                    ของบัุคีคีลที�ทรงคีุณธรรมดั่ังกล�าวนัี� จ้ะเกิดั่ผิลมีสันัติและคีวามร�มเย็นัเป็นัสุข
                    (พระย์าศร่วิศาลัวาจา, ๒๔๙๗ : ๑๒-๑๓)
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71