Page 67 - 46-1
P. 67
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
นางสาวกนกวลีี ชููชูัยยะ 59
พระราชกรณ่ย์กิจแลัะเหตุการณ์สำาคััญท่�เกิดขึ�นในรัชกาลัต่าง ๆ ตั�งแต่พระบาทสมเด็จ
พระพุทธย์อดฟ้้าจุฬาโลักมหาราชถึึงพระบาทสมเด็จพระปกเกลั้าเจ้าอย์้่หัวท่�ปรากฏิตามหลัักฐานสำาคััญ
ต่าง ๆ ทางประวัติศาสตร์ อันแสดงถึึงหลัักประพฤติธรรม ๔ ประการของพระมหากษััตริย์์แต่ลัะ
พระองคั์นั�นม่เป็นจำานวนมาก ซึ่ึ�งจะได้ย์กมาเพ่ย์งตัวอย์่างของแต่ลัะรัชกาลั
พระบาทสมเดี็จพระพุทธย์อดีฟ้้าจุฬาโลีกมหาราชู
พระบาทสมเด็จพระพุทธย์อดฟ้้าจุฬาโลักมหาราชม่พระราชโองการตรัสแก่พระมหาราชคัร้
ผู้้้ใหญ่ในพระราชพิธ่บรมราชาภิเษักว่า “พรรณพฤกษี ชิลธี แลสิ�งของในัแผิ�นัดั่ินัทั�วทั�งพระราชิ
อาณาเขต ซึ่่�งหาผิ่้หวงแหนัมิไดั่้นัั�นั ตามแต�สมณชิีพราหมณาจ้ารย์ ราษีฎรจ้ะปรารถนัาเถิดั่” (สำานักงาน
ราชบัณฑิิตย์สภา, ๒๕๖๓ : ๕๔) ซึ่ึ�งถึือเป็นสัญญาประชาคัมในการให้เสร่ภาพในทรัพย์์สินว่าหากไม่ม่
ใคัรหวงแหนประชาชนก็สามารถึใช้ประโย์ชน์ได้ (พลัตร่ หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์์ เกษัมศร่, ๒๕๕๖ : ๒๐)
แลัะปรากฏิในพระราชนิพนธ์กลัอนเพลังย์าวนิราศเรื�อง รบัพม�าที�ท�าดั่ินัแดั่ง ท่�เป็นเสมือนพระราชปณิธาน
คัือ “ตั�งใจจะอุประถึัมภก ย์อย์กพระพุทธศาสนา จะป้องกันขอบขัณฑิสิมา รักษัาประชาชนแลัมนตร่
(พระบาทสมเด็จพระพุทธย์อดฟ้้าจุฬาโลัก, ๒๔๖๔ : ๒๕) ทรงปฏิิบัติพระราชกรณ่ย์กิจด้วย์คัวาม
ย์ากลัำาบากย์ิ�งในการตั�งราชธาน่แห่งใหม่ แลัะฟ้ื�นฟ้้จิตใจของประชาชนซึ่ึ�งหวาดกลััวภัย์สงคัรามท่�ย์ัง
ไม่ย์ุติ ทรงปฏิิบัติคัวบคั้่ไปกับการพัฒนาระบบการปกคัรองโดย์เฉพาะอย์่างย์ิ�งการชำาระตัวบทกฎหมาย์
ท่�ไม่ย์ุติธรรมเพื�อใช้เป็นหลัักสำาคััญในการปกคัรอง ดังปรากฏิในพระราชปรารภของกฎหมาย์ตราสามดวง
เมื�ออาลัักษัณ์ ลั้กขุน แลัะราชบัณฑิิต รวม ๑๑ คัน ได้ชำาระเสร็จแลั้วคัวามว่า “แล้วทรงพระอุสาห
ทรงชิำาระดั่ัดั่แปลงซึ่่�งบัทอันัวิปลาดั่นัั�นัให้ชิอบัโดั่ยยุติธรรมไว้ ดั่้วยพระไทยทรงพระมหากรุณาคีุณ
จ้ะให้เปนัประโยชินั์แก�กระษีัตรอันัจ้ะดั่ำารงแผิ�นัดั่ินัไปในัภายหนั้า” (ราชบัณฑิิตย์สถึาน, ๒๕๕๐(๑) : ๘๐)
การชำาระพระไตรปิฎกให้ถึ้กต้องผู้่องใสซึ่ึ�งเป็นหลัักสำาคััญสำาหรับพระพุทธศาสนา การสร้างถึาวรวัตถึุ
ใหม่ ๆ ทรงรวบรวมพระราชทรัพย์์อย์่างย์ุติธรรมในย์ามตั�งบ้านเมืองใหม่โดย์ไม่ทำาให้ราษัฎรได้รับคัวาม
เดือดร้อน ตลัอดจนทรงสร้างคัวามเป็นอันหนึ�งอันเด่ย์วกันของชนในชาติ เพื�อให้พระราชอาณาจักร
แลัะพระราชวงศ์ตั�งอย์้่ได้อย์่างมั�นคัง พระราชกรณ่ย์กิจจำานวนมากได้สะท้อนให้เห็นว่าทรงนำาหลััก
ประพฤติธรรม ๔ ประการมาใช้ในการบริหารปกคัรองบ้านเมือง ม่ตัวอย์่างของการประพฤติธรรม
บางประการ ดังน่�
ประพฤติธรรมประการท่� ๓ คัือ “ปรม่ลมาซึ่่�งพระราชิทรัพยโดั่ยยุติธรรม” ซึ่ึ�งหมาย์คัวามว่า
การรวบรวมให้ได้มาซึ่ึ�งพระราชทรัพย์์โดย์ย์ุติธรรมไม่เอารัดเอาเปร่ย์บผู้้้อย์้่ในปกคัรอง ปรากฏิหลัักฐาน