Page 62 - 46-1
P. 62
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
54 พระมหากษััตริย์์ไทย์กับประพฤติธรรม ๔ ประการในพระธรรมศาสตร์
เป็นไปโดย์ธรรม แลัะเมื�อกลั่าวถึึงหลัักธรรมของพระมหากษััตริย์์แลั้ว มักจะเข้าใจว่า พระมหากษััตริย์์
ไทย์ทรงใช้ทศพิธราชธรรมเป็นหลัักในการปกคัรองแลัะในการบริหารราชการแผู้่นดิน แต่ย์ังม่ธรรม
ท่�สำาคััญของผู้้้ปกคัรองท่�พระมหากษััตริย์์แต่โบราณทรงย์ึดถึือแลัะปฏิิบัติตลัอดมาคัือ ประพฤติธรรม
๔ ประการ ซึ่ึ�งพระมหากษััตริย์์ไทย์ได้ทรงบัญญัติไว้เป็นกฎหมาย์ตั�งแต่สมัย์อย์ุธย์า ประเด็นท่�น่าสนใจ
คัือได้ทรงนำาวัตรปฏิิบัติของชาวพุทธคัือการรักษัาศ่ลั ๕ ประการ อันเป็นปรกติศ่ลั แลัะศ่ลั ๘ ประการ
อันเป็นอุโบสถึศ่ลั แลัะหลัักธรรมสำาคััญประการหนึ�งคัือหลัักทศพิธราชธรรมมาบัญญัติไว้ใน
“พระธรรมศาสตร์” อันเป็นกฎหมาย์แม่บทสำาคััญท่�สุดในกฎหมาย์ตราสามดวงว่าพระมหากษััตริย์์
ต้องย์ึดถึือปฏิิบัติในการคัรองแผู้่นดิน แต่มิได้ให้ราย์ลัะเอ่ย์ดไว้ เนื�องจากเป็นหลัักธรรมคัำาสอนทาง
พระพุทธศาสนา ดังปรากฏิข้อคัวามในพระธรรมศาสตร์ว่า
...เหตุดั่ั�งนัั�นัคีำาภีรพระธรรมสาตรนัี�เปนัสมุหบัดั่ีธรรมชิื�อมโนัสาร ๆ ฤๅษีีสั�งสอนั
พระเจ้้ามหาสมมุติราชิ ๆ ก็ตั�งอย่�ในัราชิธรรม ๑๐ ปรการทรงเบัญจ้างคีิกะศีล
เปนัปรกติศีล แลอัษีะฎางคีิกะศีลเปนัอุโบัสถศีล เมตตากรุณาแก�สัตวทังปวง
แล้วทรงพระอุสาหะมะนัะสิการะซึ่่�งคีำาภีร์พระธรรมศาสตรเปนันัิจ้กาล ทรง
ประพฤธิธรรม ๔ ปรการคีือพิจ้ารณาซึ่่�งคีวามชิอบัคีวามผิิดั่ แห�งผิ่้กระทำาให้
เปนัประโยชินั์แลมิไดั่้เปนัประโยชินั์แก�พระองคี ๑ ทะนัุกบัำารุงซึ่่�งบัุทคีลผิ่้มี
ศีลสัจ้ ๑ ปรม่ลมาซึ่่�งพระราชิทรัพยโดั่ยยุติธรรม ๑ รักษีาพระนัคีรราชิเสมาให้
ศุขเกษีมโดั่ยยุติธรรม ๑ เปนั ๔ ประการ แลตั�งอย่�ในัราชิกิจ้ประเพนัีมิไดั่้ขาดั่...
(ราชบัณฑิิตย์สถึาน, ๒๕๕๐(๑) : ๑๕๘)
พระมหากษััตริย์์ไทย์ทรงเป็นธรรมราชา ต้องทรงไว้ซึ่ึ�งทศพิธราชธรรม ต้องม่จักรวรรดิ-
วัตรส้ตร ราชสังคัหวัตถึุ ๔ ไว้เป็นหลััก แลัะดำารงพระราชจรรย์าอื�น ๆ อ่กหลัาย์ประการ (พลัตร่
หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์์ เกษัมศร่, ๒๕๕๖ : ๑๘) สำาหรับหลัักประพฤติธรรม ๔ ประการท่�ทรงบัญญัติไว้
ในพระธรรมศาสตร์ ม่ขอบเขตแลัะคัวามสำาคััญท่�กว้างใหญ่ไพศาลั เพราะเป็นเสมือนสัญญาประชาคัม
ท่�พระมหากษััตริย์์ซึ่ึ�งเป็นทั�งเจ้าช่วิตแลัะเจ้าแผู้่นดิน ทรงกำาหนดว่าจะทรงประพฤติธรรม ๔ ประการ
ได้แก่ ประการที� ๑ คัือ “พิจ้ารณาซึ่่�งคีวามชิอบัคีวามผิิดั่แห�งผิ่้กระทำาให้เปนัประโยชินั์แลมิไดั่้เปนั
ประโยชินั์แก�พระองคี ๑” ซึ่ึ�งหมาย์คัวามว่า ภาย์ใต้การปกคัรองของพระองคั์ ผู้้้ท่�กระทำาคัวามผู้ิด
ต้องถึ้กลังโทษั แลัะผู้้้ท่�ประกอบคัุณคัวามด่ต้องได้รับรางวัลั ประการที� ๒ คัือ “ทะนัุกบัำารุงซึ่่�งบัุทคีล
ผิ่้มีศีลสัจ้” ซึ่ึ�งหมาย์คัวามว่า ผู้้้ม่คัวามร้้แลัะม่ศ่ลัสัตย์์ต้องได้รับการส่งเสริมแลัะอุดหนุนให้เจริญขึ�น