Page 83 - Journal451
P. 83

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๓
             ศาสตราจารย์์ ดร.ภััทรพร  สิริกาญจน                                               71


             เที่่�ยงธรรมและม่คืวามเมตตากรุณาต่อสำมาชุิกใน้คืรอบคืรัว ถ้าบุคืคืลแต่ละคืน้ลดคืวามวุ่น้วายใน้จัิตใจั

             ของตน้เองลงบ้าง ก็จัะสำามารถรับร้้ปัญหาของผู้้้อื�น้และเข้าใจัผู้้้อื�น้ได้มากข่�น้ ที่ำาให้คืวามเมตตากรุณา

             สำามารถพื่ัฒน้าข่�น้ใน้จัิตใจัได้อย่างรวดเร็ว การที่่�พื่ระพืุ่ที่ธเจั้าและพื่ระอรหัน้ตสำาวกสำามารถม่คืวาม
             เมตตากรุณาได้ใน้ระดับสำ้งสำุดก็เพื่ราะม่สำภิาวะจัิตที่่�ปลอดโปร่งจัากกิเลสำอย่างสำิ�น้เชุิง จั่งสำามารถรับร้้
             คืวามทีุ่กข์ของผู้้้อื�น้ได้อย่างถ่องแที่้และสำามารถม่บที่บาที่ใน้การสำงเคืราะห์ผู้้้อื�น้ให้พื่้น้ทีุ่กข์ได้เป็น้

             จัำาน้วน้มาก  แน้วคืิดที่างพืุ่ที่ธปรัชุญาที่่�สำ่งเสำริมให้สำมาชุิกของสำังคืมม่คืวามเกื�อก้ลกัน้ เมตตากรุณา

             ต่อกัน้ และม่คืวามพื่อเพื่่ยงใน้การดำารงชุ่วิตจั่งสำ่งเสำริมแน้วคืิดธรรมาธิบาลและบที่บาที่ของผู้้้เก่�ยวข้อง
             ใน้การพื่ัฒน้าสำังคืมยุคืปัจัจัุบัน้ (Sirikanchana, 2019 : 457-458)



             ธรรมาภิิบาลในศาสตร์พระราชา

                     ศัาสำตร์พื่ระราชุา (The King’s Philosophy) คืือ คืวามร้้ แน้วคืิด และหลักปฏิบัติต่าง ๆ
             ที่่�พื่ระบาที่สำมเด็จัพื่ระมหาภิ้มิพื่ลอดุลยเดชุมหาราชุ บรมน้าถบพื่ิตร พื่ระราชุที่าน้แก่ประชุาชุน้
             ชุาวไที่ยที่ั�งมวลเพื่ื�อเป็น้ปรัชุญาและวิธ่ปฏิบัติใน้การดำารงชุ่วิตที่่�ด่งาม และเป็น้ประโยชุน้์ต่อตน้เอง

             ตลอดจัน้ต่อสำ่วน้รวมอย่างยั�งยืน้

                     พื่ระบาที่สำมเด็จัพื่ระมหาภิ้มิพื่ลอดุลยเดชุมหาราชุ บรมน้าถบพื่ิตร ที่รงให้คืวามสำำาคืัญกับ
             “การที่ำาหน้้าที่่�” และ “คืวามเมตตากรุณา” ใน้การขับเคืลื�อน้ศัาสำตร์พื่ระราชุาจัากที่ฤษฎ่สำ้่ภิาคืปฏิบัติ
             ที่รงม่พื่ระราชุดำารัสำให้ชุาวไที่ยทีุ่กคืน้พื่ากเพื่่ยรปฏิบัติหน้้าที่่�ของตน้ตามที่่�ได้รับมอบหมายให้

             ลุล่วง ที่รงสำน้ับสำนุ้น้ให้ปฏิบัติหน้้าที่่�เพื่ื�อหน้้าที่่�เพื่ื�อให้บรรลุคืุณธรรมของคืวามเป็น้มนุ้ษย์ ดังที่่�ที่รง

             อธิบายว่า

                     ...ถ้้าแต่ละคีนัทำาหนั้าที�ทั�งในัหนั้าที�ที�มี ทั�งหนั้าที�ที�ได้้ตั�งไว้กับัตัวหรืออาชิีพ

                     ทั�งในัหนั้าที�ที�มีในัทางที�เป็็นัคีนัไทย เป็็นัมนัุษย์ที�จะต้องมีคีวามเอื�อเฟื้้�อซึ่่�งกันั
                     และกันั ถ้้ามีคีวามคีิด้ที�เที�ยงตรง ที�มีเหตุผล ไม่ได้้หมายคีวามว่าจะต้องเห็นัด้้วย

                     เห็นัพ้องกันัเสมอ ไม่หมายคีวามว่า ถ้้าใคีรพูด้อะไรไป็จะต้องถ้ือว่า ใชิ่แล้ว ยกมือ
                     เป็็นัแบับัในัที�เขาล้อกันัในัสภา มีคีวามคีิด้คีวามเห็นัต่างกันัได้้ แต่ก็ถ้้าพูด้กันั

                     ด้้วยเหตุผลแล้ว ไม่ใชิ่มิจฉาทิฏฐิิ คีือไม่ถ้ือเอาเหตุผลลับั ๆ ล่อ ๆ มาใชิ้ เชิื�อว่าเรา
                     อยู่ด้้วยกันัได้้อย่างด้ี... (พื่ระบาที่สำมเด็จัพื่ระปรมิน้ที่รมหาภิ้มิพื่ลอดุลยเดชุ,

                     ๒๕๕๒ : ๓๙)
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88