Page 136 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 136
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีที� ๔๙ ฉบับที� ๑ มกัราคม-เมษายน ๒๕๖๗
126 ชาวสยามในประเทศมาเลเซีียกัับสถานะภููมิบุตร
ติ่อเนื�องถ่งสัมัยอยุธุ์ยา ไทยมีอำนาจีควบคุมเมืองติ่าง ๆ บนคาบสัมุทรจีนถ่งปลายแหุลมมลาย้ (Paul Michel
Munoz, 2006) ก่อนที�อาณาจีักรมะละกาจีะมีอำนาจีในเวลาติ่อมา
ในสัมัยยุคล่าอาณานิคมขึ้องชาวติะวันติก ติั�งแติ่สัมัยอยุธุ์ยาถ่งติ้นรัตินโกสัินทร� คาบสัมุทรมลาย้
ติกเป็นเป้าหุมายการย่ด้ครองด้ินแด้นในร้ปแบบติ่าง ๆ ทำใหุ้ไทยติ้องปรับติัวและจีำเป็นติ้องติัด้สัินใจีบางอย่าง
อย่างรอบคอบเพื�อรักษาอำนาจีอธุ์ิปไติยและเอกราชเหุนือด้ินแด้น โด้ยเฉีพาะการกำหุนด้เขึ้ติแด้นไทยกับ
รัฐมลาย้ที�อังกฤษกำลังมีอิทธุ์ิพลอย้่ในเวลานั�นใหุ้ชัด้เจีน ในที�สัุด้ไทยจี่งติ้องทำสันธุ์ิสััญ่ญ่ากับอังกฤษเมื�อวันที�
๑๐ มีนาคม ค.ศ. ๑๙๐๙ (พ.ศ. ๒๔๕๒) ยกสัิทธุ์ิในการปกครองและอำนาจีบังคับบัญ่ชาเหุนือเมืองไทรบุรี
ปะลิสั กลันติัน ติรังกาน้ และเปรักติอนบนใหุ้อย้่ในการปกครองขึ้องอังกฤษ จี่งทำใหุ้ชาวสัยามในรัฐมลาย้
ด้ังกล่าวที�อย้่อาศัยมาก่อนการแบ่งเขึ้ติแด้นติกอย้่ในบังคับบัญ่ชาขึ้องอังกฤษ ชาวสัยามด้ังกล่าวบางสั่วนที�
เขึ้้านับถือศาสันาอิสัลามจีะมีสัถานภูาพเป็นพลเมืองที�มีสัิทธุ์ิติามกฎหุมายขึ้องประเทศมาเลเซีียทุกประการ
ขึ้ณะที�ชาวสัยามอีกสั่วนหุน่�งที�ยังคงนับถือพระพุทธุ์ศาสันาแม้จีะมีสัถานภูาพเป็นพลเมืองติามกฎหุมาย
เช่นเด้ียวกัน แติ่สัิทธุ์ิบางอย่างไม่เท่ากับชาวสัยามที�เขึ้้านับถือศาสันาอิสัลามและไม่เท่ากับชาวมาเลย�ทั�วไป
มีขึ้้อสัังเกติว่าชาวสัยามด้ั�งเด้ิมในประเทศมาเลเซีียที�นับถือพระพุทธุ์ศาสันาอย้่ร่วมกันเป็นชุมชน
อย่างเหุนียวแน่นมาช้านาน และได้้รับการยอมรับเป็นสั่วนหุน่�งขึ้องสัังคมพหุุชาติิพันธุ์ุ�ขึ้องชาติิมาเลเซีีย ด้ังขึ้้อความ
ที�กล่าวถ่งชุมชนคนไทยว่า “The Thai community in Malaysia is a significant part of the nation’s
multiracial society.” (The Star, 2016) ชุมชนคนไทยในมาเลเซีียมีวัด้ในพระพระพุทธุ์ศาสันาเป็นศ้นย�กลาง
ปัจีจีุบันเฉีพาะใน ๖ รัฐติอนเหุนือขึ้องมาเลเซีียมีวัด้ในพระพระพุทธุ์ศาสันารวม ๘๘ วัด้ (รวมสัำนักสังฆ�)
ได้้แก่ เกด้าหุ� ๔๒ วัด้ กลันติัน ๒๑ วัด้ เปรัก ๙ วัด้ ปีนัง ๗ วัด้ ปะลิสั ๕ วัด้ สัะลังงอร� ๔ วัด้ มีสั่งเสัริมการเรียน
การสัอนศาสันา วัฒนธุ์รรมประเพณีไทยและภูาษาไทย โด้ยใช้วัด้เป็นสัถานที�ศ่กษาเล่าเรียน ได้้รับการสันับสันุน
จีากสัมาคมชาวสัยามในมาเลเซีีย ม้ลนิธุ์ิพระวิเชียรโมลี มหุาวิทยาลัยหุลายแหุ่งในภูาคใติ้ กระทรวง
การติ่างประเทศขึ้องไทย ที�น่าสันใจีมากคือ หุม้่บ้านคนไทยที�มีความพร้อมบางแหุ่งได้้มีการจีัด้ติั�งโรงเรียน
อนุบาล โด้ยเปิด้รับเด้็ก ๆ จีากทุกกลุ่มชาติิพันธุ์ุ�เขึ้้าเรียน ประเทศมาเลเซีียมีความหุลากหุลายในชาติิพันธุ์ุ�สั้ง
ทั�งชาวมลาย้ อินเด้ีย จีีน สัยาม สัิงหุล ทมิฬ และชนพื�นเมืองอื�นอีกเป็นจีำนวนมาก ทำใหุ้เด้็กมีโอกาสัเรียน
ร่วมกัน ได้้เรียนร้้ภูาษาและวัฒนธุ์รรมขึ้องกันและกัน และมีความผู้้กพันกันติั�งแติ่วัยเด้็ก คล้ายกับโรงเรียน
ประชาบาลในจีังหุวัด้ชายแด้นภูาคใติ้ขึ้องไทยในอด้ีติที�ใหุ้เด้็กในชุมชนทุกคนเขึ้้าเรียนในโรงเรียนประชาบาล
ซี่�งทำใหุ้เด้็กรุ่นนั�นมีเพื�อนติ่างศาสันาเรียนด้้วยกัน เขึ้้าใจีกัน และเป็นผู้้้ใหุญ่่ที�มีความผู้้กพันกันมาจีนถ่งทุกวันนี�
ชาวสัยามหุรือคนไทยในมาเลเซีียจีำนวนหุน่�งที�เขึ้้านับถือศาสันาอิสัลามจีะถ้กเรียกว่า ซีัมซีัม (Samsam) แม้ว่า
สั่วนใหุญ่่ยังใช้ภูาษาสัยามหุรือภูาษาไทยในการพ้ด้คุยกับคนไทยด้้วยกัน แติ่การด้ำเนินชีวิติเป็นไปติาม
ติามแบบแผู้นขึ้องอิสัลามและวัฒนธุ์รรมมลาย้ และใช้ภูาษามลาย้ในการสัื�อสัารกับชาวมาเลย�ทั�วไป คนไทย
กลุ่มนี�พบได้้ในเขึ้ติ Padang, Kuala Nerang, และ Kupang Pasu เช่น ที�ชุมชน Changlun, Kodiang, Jitra,
Wang Tepus, Guar Napai, Malau, Ason และ Napohc โด้ยสั่วนใหุญ่่คนไทยกลุ่มนี�ยังพ้ด้ภูาษาไทยได้้
แติ่ก็จีะค่อย ๆ กลืนกลายไปในสัังคมชาวมาเลย�