Page 140 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 140
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีที� ๔๙ ฉบับที� ๑ มกัราคม-เมษายน ๒๕๖๗
130 ชาวสยามในประเทศมาเลเซีียกัับสถานะภููมิบุตร
ที�ติำบลเจี๊ะเหุ อำเภูอติากใบ จีังหุวัด้นราธุ์ิวาสั ติิด้รัฐกลันติันขึ้องประเทศมาเลเซีียในปัจีจีุบัน แติ่เด้ิม
ก่อนมีรัฐชาติิและอาณาเขึ้ติประเทศ ด้ินแด้นเหุล่านี�เป็นผู้ืนเด้ียวกัน ผู้้้คนสั่วนใหุญ่่เป็นชาวมลาย้ที�เคลื�อนย้ายขึ้่�น
มาจีากสัุมาติรา ชวา และปลายคาบสัมุทรมลาย้ พ้ด้ภูาษาติระก้ลชวา-มลาย้ ทำใหุ้เกิด้การผู้สัมผู้สัานกับคนไทย
มอญ่ ลาว ที�เคลื�อนย้ายจีากติอนบนขึ้องไทยและแถบอินโด้จีีนลงไปติั�งหุลักแหุล่งบริเวณคาบสัมุทรมลาย้
คนกลุ่มหุลังนี�พ้ด้ภูาษาติระก้ลมอญ่-เขึ้มร จี่งเป็นติ้นเค้าใหุ้เกิด้ภูาษาและสัำเนียงเฉีพาะถิ�นแบบภูาษาติากใบ
หุรือภูาษาเจี๊ะเหุ ทั�งนี�เนื�องจีากมีภูาษาไทยถิ�นเหุนือและภูาษามลาย้เขึ้้าไปผู้สัมอย้่มาก จี่งพ้ด้ภูาษาไทยถิ�นใติ้
ปนภูาษาเหุนือและมลาย้เขึ้้าไปด้้วย ยิ�งกว่านั�นที�สัำคัญ่คือ ภูาษาเจี๊ะเหุ มีคำที�ใช้ในราชสัำนักหุรือราชาศัพท�อย้่
หุลายคำ เช่น เขึ้นย (หุมอน) หุนับเพลา (กางเกง) กลด้ (คล้ายร่ม แติ่ขึ้นาด้ใหุญ่่กว่า ) เสัวย (กิน) ฯลฯ
ในด้้านที�มาขึ้องภูาษาไทยถิ�นใติ้สัำเนียงติากใบหุรือภูาษาเจี๊ะเหุในด้้านภูาษาศาสัติร�นั�น ในงานวิจีัย
เรื�อง From Ancient Thai to Modern Dialects: A Theory โด้ย มาร�วิน บราวน� เจี. (Marvin, Brown J.
1962) กล่าวถ่งภูาษาถิ�นในภู้มิภูาคติ่าง ๆ ขึ้องไทยและใหุ้ความเหุ็นว่า ภูาษัาไทย์ถิ�นใต้สำเนีย์งตากูใบุ
มิีว์ิว์ัฒนากูารมิาจากูภูาษัาสุโขทัย์ ในอำเภูอติากใบมีเรื�องเล่าก่�งติำนานที�เกี�ยวขึ้้องกับเมืองเหุนือคือกรุงสัุโขึ้ทัย
จี่งทำใหุ้ภูาษามีเอกลักษณ�เฉีพาะ โด้ยติากใบเคยอย้่ภูายใติ้การปกครองขึ้องสัุโขึ้ทัย จี่งมีขึุ้นนางสัุโขึ้ทัยเด้ินทาง
มาปกครองติ่างพระเนติรพระกรรณ มีขึ้้อสัันนิษฐานว่าที�บ้านโคกอิฐ (ปัจีจีุบันกรมศิลปากรกำลังด้ำเนินการ
สัำรวจีขึุ้ด้ค้นทางโบราณคด้ี) ซี่�งพบร่องรอยขึ้องแนวกำแพงและซีากปรักหุักพังขึ้องโบราณสัถาน ซี่�งอาจีจีะเป็น
ที�พำนักขึ้องกษัติริย�และขึุ้นนางที�เด้ินทางมาพร้อมบริวารและกำลังพล ด้้วยเหุติุนี�เองวัฒนธุ์รรมภูาษาพ้ด้สัำเนียง
ภูาษาไทยถิ�นเหุนือและการใช้คำที�เป็นราชาศัพท�จี่งผู้สัมผู้สัานกับภูาษาขึ้องชาวติากใบด้ั�งเด้ิม รวมทั�งวัฒนธุ์รรม
อื�น ๆ ในอำเภูอติากใบ เช่น สัถาปัติยกรรมในพระพุทธุ์ศาสันา ไม่ว่าจีะเป็นวิหุาร ศาลาการเปรียญ่ล้วนมีร้ปแบบ
และศิลปะค่อนไปเหุมือนทางภูาคเหุนือ นอกจีากนั�น คำบอกเล่าติ่อ ๆ กันมาหุลายชั�วอายุคนยังระบุว่า
กลุ่มคนที�อาศัยอย้่ในชุมชนที�อย้่ถัด้ลงไปทางใติ้ขึ้องอำเภูอติากใบคือบ้านบังหุญ่ัง อำเภูอติุมปัติ รัฐกลันติัน
ประเทศมาเลเซีีย และหุม้่บ้านอีกหุลายแหุ่งแถบนั�นเป็นกลุ่มคนที�มีบรรพบุรุษมาจีากสัุโขึ้ทัย
นโยบายภููมิบุตรกัับสถานภูาพของชาวสยามในประเทศมาเลเซีีย
ก่อนที�มาเลเซีียจีะได้้รับเอกราช ชาวสัยามในมาเลเซีียมีหุลักฐานแสัด้งสัถานภูาพคือสั้ติิบัติรแสัด้งความ
เป็นคนสัยามสััญ่ชาติิมาเลเซีีย หุลังจีากมาเลเซีียได้้รับเอกราชแล้ว ชาวสัยามมีหุลักฐานการแสัด้งสัถานภูาพ
คือ สั้ติิบัติรแสัด้งความเป็นคนมาเลเซีียเชื�อสัายสัยามและมีบัติรประชาชนแสัด้งสััญ่ชาติิมาเลเซีีย มีสัิทธุ์ิ�ถือ
ครองด้ินเป็นขึ้องตินเองและมีสัิทธุ์ิ�ขึ้ายที�ด้ินใหุ้แก่ผู้้้อื�นได้้ แติ่ผู้้้ซีื�อจีะติ้องเป็นคนมาเลย�เท่านั�น นอกจีากนั�น
ชาวสัยามไม่มีสัิทธุ์ิ�ซีื�อที�ด้ินเพิ�มจีากเด้ิมไม่ว่าที�ด้ินนั�นจีะเป็นขึ้องชาวสัยามด้้วยกันหุรือเป็นขึ้องชาวมาเลเซีีย
กลุ่มใด้ก็ติามก็ติาม อีกประการหุน่�งชาวสัยามที�มีกรรมสัิทธุ์ิ�เป็นเจี้าขึ้องที�ด้ินเพื�อเกษติรกรรมจีะติ้องเป็นเกษติรกร
ที�มีบัติร Regence Patanian Orang Orang Siam และไม่ประสังค�กลับเขึ้้ามาอย้่ในประเทศไทย แติ่หุลังจีาก
พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นติ้นมา ชาวสัยามในมาเลเซีียที�นับถือพระพุทธุ์ศาสันาได้้รับสัถานะภู้มิบุติร ทำใหุ้ชาวสัยาม
มีสัิทธุ์ิติ่าง ๆ มากขึ้่�น เช่น สัิทธุ์ิในการก้้ยืมเงินลงทุน การเป็นผู้้้ประกอบการธุ์ุรกิจี การเขึ้้าศ่กษา ในสัถาบัน
การศ่กษา และการเขึ้้าทำงานในสั่วนราชการติ่าง ๆ ขึ้องรัฐ