Page 133 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 133
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๙ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษาย์น ๒๕๖๗
ศาสตราจารย์์ ดร.ครองชััย์ หััตถา 123
ชาวสัยามที�อย้่อาศัยในรัฐติ่าง ๆ ขึ้องมาเลเซีียนั�น ได้้รับสัถานะเป็นภู้มิบุติรเมื�อ พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นติ้นมา
โด้ยชาวสัยามที�นับถือศาสันาอิสัลามจีะถือว่าเป็นชาวมาเลย�ติามกฎหุมาย และได้้รับสัิทธุ์ิภู้มิบุติรเท่ากับ
ชาวมลาย้ทุกประการ สั่วนชาวสัยามที�นับถือศาสันาพุทธุ์ได้้รับสัิทธุ์ิภู้มิบุติรไม่เท่ากับชาวมาเลย� โด้ยเฉีพาะ
ด้้านการเมือง การศ่กษา การทำงานราชการ และการประกอบการธุ์ุรกิจี สั่วนด้้านภูาษา ศาสันา และศิลปะ
วัฒนธุ์รรมนั�นสัามารถด้ำเนินกิจีกรรมได้้ติามประเพณีที�ปฏิิบัติิสัืบติ่อกันมา ชาวสัยามในมาเลเซีียเรียกตินเองว่า
“คนสัยาม” มากกว่าที�จีะเรียกว่า “คนไทย” สั่วนชาวมาเลเซีียเรียกชาวสัยามว่า Orang Siam, Malaysian
Siamese, Siamese Malaysians รวมทั�งคำว่า “Thai Malaysians” และ “Thai Siam” ก็พบว่ามีผู้้้ใช้เรียก
พลเมืองชาวสัยามในมาเลเซีียด้้วยเช่นกัน การได้้รับสัถานะภู้มิบุติรขึ้องชาวสัยามเป็นประเด้็นที�น่าสันใจีและมี
เอกสัารที�กล่าวถ่งน้อยมาก รวมทั�งประวัติิศาสัติร�ที�เกี�ยวขึ้้องกับชาวสัยามในประเทศมาเลเซีียสั่วนใหุญ่่จีะระบุ
ช่วงเวลาสัมัยอยุธุ์ยาและติ้นรัตินโกสัินทร�ลงมา โด้ยกล่าวถ่งหุัวเมืองมลาย้ในฐานะเมืองประเทศราชขึ้องไทยที�มี
เมืองนครศรีธุ์รรมราชเป็นผู้้้ด้้แล (ปิยนาถ บุนนาค, ๒๕๔๗) และกล่าวถ่งความสััมพันธุ์�ระหุว่างสัยาม-มลาย้
ในมิติิประวัติิศาสัติร�และวัฒนธุ์รรม (ชุลีพร วิรุฬหุะ, ๒๕๔๕; Kobkua Suwannathat-Pian, 1988) สัำหุรับ
ขึ้้อม้ลจีากเอกสัารมลาย้ติ้นฉีบับและจีากงานวิจีัยที�กล่าวถ่งชาวสัยามด้ั�งเด้ิมก่อนช่วงเวลาด้ังกล่าวและสัถานะ
ขึ้องชาวสัยามในช่วงเวลาที�ผู้่านมา รวมทั�งสัิ�งที�ผู้้้เขึ้ียนได้้เรียนร้้จีากการทำงานในพื�นที�ติลอด้ระยะเวลากว่า
๔๐ ปี จีะนำมาเสันอในบทความนี�เพื�อใหุ้เป็นแหุล่งอ้างอิงและเพื�อการศ่กษาค้นคว้าสัืบไป
ภููมิหลังของชาวสยามในประเทศมาเลเซีีย
ประเทศมาเลเซีียมีประชากรเชื�อสัายสัยามหุรือที�เรียกว่า โอรัง เซีียม (Orang Siam) ซี่�งเป็น
ชาวไทยถิ�นใติ้ด้ั�งเด้ิมที�อย้่อาศัยในพื�นที�แถบนี�มาก่อนที�จีะเกิด้รัฐสัมัยใหุม่ ด้ังที�ปรากฏิใน Hikayat Merong
Mahawangsa ฉีบับภูาษามลาย้เขึ้ียนด้้วยอักขึ้ระยาวี ติ่อมาได้้มีฉีบับคัด้ลอกเหุมือนติ้นฉีบับจีริง ฉีบับแปล
และฉีบับเขึ้ียนขึ้่�นใหุม่ ที�ร้้จีักกันในชื�อ ตำนัานัมะโรงมหาวงศ์พงศาวด้ารเมืองไทรบัุรี ปัจีจีุบันฉีบับคัด้ลอก
เหุมือนติ้นฉีบับจีริงจีัด้แสัด้งอย้่ที� Muzium Negeri Kedah ฉีบับเขึ้ียนขึ้่�นใหุม่มีหุลายฉีบับ อาทิ ฉีบับศาลา
ล้กขึุ้น เอกสัารติำนานนี�กล่าวถ่งชนพื�นเมืองด้ั�งเด้ิมบนแหุลมมลาย้ว่ามีอย้่หุลายเผู้่าพันธุ์ุ� ได้้แก่ Jakun, Moken,
Semang, และ Sakai รวมทั�งพวก Siam หุรือ ชาวสัยามด้ั�งเด้ิม (Siam Asli) (ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์ุ�, ๒๕๕๐)
ติำนานนี�กล่าวถ่งพระเจี้ามะโรงมหุาวงศ� วีรบุรุษผู้้้ก่อติั�งอาณาจีักรลังกาสัุกะขึ้่�นที�หุุบเขึ้าบ้จีัง (Bujang Valey)
และสัถาปนาเป็นกษัติริย�พระองค�แรก ติ่อมาพระราชโอรสัองค�โติคือพระเจี้ามะโรงมหุาโพธุ์ิสััติว� (Merong
Mahapudisat) ได้้เป็นกษัติริย�ติ่อจีากพระราชบิด้า ติำนานนี�กล่าวถ่งพระเจ้ามิะโรงมิหัาโพธิิสัตว์์ว่าเป็น
กูษััตริย์์ชัาว์สย์ามิพระองค์แรกู พระเจี้าสัยามผู้้้นี�เป็นบุติรชาวพื�นเมือง (ครองชัย หุัติถา, ๒๕๕๒) เอกสัารมลาย้
อีกฉีบับคือ Sejarah Kerajaan Melayu Patani: History of Malay Kingdom of Patani เขึ้ียนโด้ย
อิบราฮัิม ชุกรี (Syukri Ibrahim, 1985) กล่าวถ่งชาวสัยามพื�นเมือง (Siam-Asli หุรือ Aboriginal Siamese)
ว่าเขึ้้ามาติั�งถิ�นฐานบนแหุลมมลาย้ในสัมัยใด้ยังไม่มีหุลักฐานแน่ชัด้ ติ่อมา เมื�อชาวสัยามได้้รับอารยธุ์รรมจีาก
ชาวฮัินด้้ และบางสั่วนได้้แติ่งงานกับชาวฮัินด้้ ในที�สัุด้อำนาจีขึ้องชาวฮัินด้้ก็ติกอย้่ในมือขึ้องชาวสัยาม ชาวสัยาม
ได้้มีอำนาจีปกครองเมืองติ่าง ๆ ติอนล่างขึ้องแหุลมมลาย้ ได้้แก่ ปาหุัง เกด้าหุ� กลันติัน และปัติติานี รวมถ่งเมือง