Page 70 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 70
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีที� ๔๘ ฉบับที� ๒ พัฤษภาคม-สัิงหาคม ๒๕๖๖
ความสััมพัันธ์์ของขนบการเขียนพัระราชพังศาวดารไทยกับกัมพัูชากรณีีศึกษาจากพัระราชพังศาวดารกัมพัูชา
58 ฉบับเอกสัารตััวเขียนในหอสัมุดสัำนักฝรั�งเศสัแห่งปลายบุรพัทิศ กรุงปารีสั
นัี�จะเริ�มเร่�องต่อไป ตั�งแต่พระพุที่ธิที่ํานัายมาถึงพระบัาที่เที่ววงศิ์อัศิจรรย์มีในัที่ํานัาย กล่าวตั�งแต่
พระเกตมาลามาถึงพระบัาที่ปทีุ่มวรวงศิ์นัั�นั มีพงศิาวดุารในัม่อพราหมณ์เป็นัผ้้รักษา ส่วนัพระบัาที่อุไที่ยราชิ
พระปทีุ่มสุริยวงศิ์นัี� มีพิสดุารในัพงศาวดารสยามเหนืือ (พงศาวดารเหนืือ) บั้าง คีําทํํานืายพระแก้้วบั้าง
ส่วนัพระบัาที่เธิมญไชิยโคีรพราชิจนัถึงพระบัาที่เสนักราชิ พระสิงหกุมารมีในัรัตนัพิมพวงศิ์ พระบัาที่สังขจักร
พระจักรพรรดุิราชิ พระปักษีจํากรุง แลตาแตงหวานันัี� มีในักระบัวนัฤาษีที่ํานัาย ตระบัองที่ยุง พญาแกรก
แลปักษีจํากรุง กล่าวในัพงศาวดารลาวบั้าง สยามเหนืือบั้าง ส่วนันัอกจากนัั�นั มีในักระบัวนับั้างโบัราณจารย์
ที่่านัไดุ้ร้้ชิัดุปรากฏ จำดุําเนัินัเร่�องพระราชิพงศิาวดุารขัตติยามหาราชิ ในักรุงกัมพ้ชิาธิิบัดุีในัประเที่ศินัั�นั
จากต้นัเป็นัลําดุับัประเพณีเรียงมาดุังนัี�”
เนี้่�อความในี้บานี้แพนี้กของพรื่ะรื่าชพงศึาวด้ารื่กัมพูชาฉบับนี้้�รื่ะบุไว้อย่างชัด้เจันี้ว่าได้้รื่ับอิทธิพลั
มาจัาก “พรื่ะรื่าชพงศึาวด้ารื่เหนี้่อ” ของพรื่ะวิเช้ยรื่ป็รื่้ชา (นี้้อย) ซึ่่�งพรื่ะบาทส่มเด้็จัพรื่ะพุทธเลัิศึหลั้านี้ภาลััย
แติ่ยังด้ำรื่งพรื่ะเก้ยรื่ติิยศึเป็็นี้กรื่มพรื่ะรื่าชวังบวรื่ส่ถึานี้มงคลั ม้รื่ับส่ั�งให้เป็็นี้ผู่้รื่วบรื่วมเรื่้ยบเรื่้ยงหนี้ังส่่อ
พรื่ะรื่าชพงศึาวด้ารื่เหนี้่อ เม่�อ พ.ศึ. ๒๓๕๐ ด้ังป็รื่ากฏความในี้บานี้แพนี้กหนี้ังส่่อพรื่ะรื่าชพงศึาวด้ารื่เหนี้่อ ว่า
“...ข้าพระพุที่ธิเจ้า พระวิเชิียรปรีชิานั้อย เจ้ากรมราชิบััณฑิิตย์ขวา ไดุ้รับัพระราชิที่านัเรียงเร่�องสยาม
ราชิพงศิาวดุารเม่องเหนั่อตั�งแต่บัาธิรรมราชิ สร้างเม่องสัชิชินัาไลย เม่องสวรรคีโลก ไดุ้เสวยราชิสมบััติ
ที่รงพระนัามพระเจ้าธิรรมราชิาธิิราชิ เป็นัลำดุับัลงมาจนัถึงพระเจ้าอ้่ที่อง สร้างกรุงศิรีอยุธิยาโบัราณราชิธิานัี
โดุยกำลังสติปัญญาสักกานัุร้ปอันันั้อย ที่้ลเกล้าที่้ลกระหม่อมถวาย ขอเดุชิะ...” ๗
ในี้ขณะท้�รื่าชพงษาวด้ารื่กรืุ่งกัมพูชา เรื่้ยบเรื่้ยงข่�นี้เม่�อ พ.ศึ. ๒๔๒๐ ภายหลัังจัากพรื่ะรื่าชพงศึาวด้ารื่
เหนี้่อถึ่ง ๗๐ ป็ี ด้ังนี้ั�นี้ จั่งเป็็นี้หลัักฐานี้ท้�แส่ด้งให้เห็นี้ถึ่งอิทธิพลัของขนี้บการื่เข้ยนี้แลัะเนี้่�อหาของพรื่ะรื่าช-
พงศึาวด้ารื่เหนี้่อของไทยท้�ม้ติ่อเนี้่�อหาส่่วนี้ติ้นี้ (ภาคติำนี้านี้นี้ิทานี้) ของรื่าชพงษาวด้ารื่กรืุ่งกัมพูชา (เอกส่ารื่
หมายเลัข P 48) ได้้เป็็นี้อย่างด้้
นี้อกจัากนี้้� ในี้รื่ะหว่าง พ.ศึ. ๒๔๓๓-๒๔๓๖ ส่มเด้็จัพรื่ะนี้โรื่ด้มบรื่มรื่ามเทวาวติารื่โป็รื่ด้ให้ส่มเด้็จั
พรื่ะส่ังฆ่รื่าชเท้�ยง ส่มเด้็จัพรื่ะสุ่คนี้ธาธิบด้้ (ป็านี้) แลัะออกญาส่นี้ธรื่โวหารื่ (มุก) ชำรื่ะแก้ไขพงศึาวด้ารื่กัมพูชา
ภาคติำนี้านี้นี้ิทานี้เส่้ยใหม่ค่อ พัระราชพังศาวดารพัระมหากษัตัริย์เสัวยราชสัมบัตัิในกรุงกัมพัูชาเป็นลำดับ
เรียงมา ส่่วนี้พรื่ะรื่าชพงศึาวด้ารื่กรืุ่งกัมพูชาท้�ติวรื่จัส่อบชำรื่ะเพิ�มเติิมจันี้ม้เนี้่�อหาภาคติำนี้านี้นี้ิทานี้ส่มบูรื่ณ์ค่อ
พัระราชพังศาวดารกัมพัูชาฉบับออกญาวังวรเวียงชัย (ชวน) ฉบับ พ.ศึ. ๒๕๐๙ (ค.ศึ. ๑๙๖๖) ซึ่่�งม้จัำนี้วนี้
กษัติรื่ิย์เขมรื่โบรื่าณถึ่ง ๓๐ พรื่ะองค์ ๘
จัากหลัักฐานี้ท้�กลั่าวมาแส่ด้งให้เห็นี้ว่า การื่เรื่้ยบเรื่้ยงพรื่ะรื่าชพงศึาวด้ารื่กัมพูชาภาคติำนี้านี้นี้ิทานี้
ได้้รื่ับอิทธิพลัทั�งในี้ด้้านี้ขนี้บแลัะเนี้่�อหามาจัากพรื่ะรื่าชพงศึาวด้ารื่เหนี้่อของไทย ซึ่่�งชำรื่ะข่�นี้ในี้ส่มัยรื่ัชกาลัท้� ๑
นี้ั�นี้เอง
๗ ประชิุมพงศิาวดุาร ฉบัับัหอสมุดุแห่งชิาติ เล่ม ๑. (๒๕๐๖). พรื่ะนี้ครื่: ก้าวหนี้้า, ๗.
๘ ประชิุมพงศิาวดุาร ฉบัับัหอสมุดุแห่งชิาติ เล่ม ๑. (๒๕๐๖). พรื่ะนี้ครื่: ก้าวหนี้้า, ๘.