Page 51 - วารสาร 48-1
P. 51

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
             รองศาสตราจารย์์ ดร.สำาเนีีย์ง เลื่่�อมใส                                         41


                          อคฺรามฺย์มนฺนำ  สลัิเลั  ปฺรร้ฒํำ  ปรฺณานิ  โติย์ำ  ผู้ลัม้ลัเมว  |

                          ย์ถุาคมำ  วฺฤติฺติิริย์ำ  มุนีนำา  ภินฺนาสฺติุ  เติ  เติ  ติปสำา  วิกลัฺปาะ  || ๗.๑๔  ||

                     อาห็ารที�ไมี่ได่้ปลัูกซ์ึ�งเกิด่ในนำ�า ใบไมี้ นำ�า ผู้ลัไมี้ แลัะรากไมี้นั�นเองเป็นเครื�องเลัี�ย่งชีพของ

             ฤาษีทั�งห็ลัาย่ติามีที�ปรากฏิในคัมีภีร์ ส่วนวิธีบำาเพ็ญติบะนั�นมีีลัักษณะแติกติ่างกันไป

                          อุญฺฺเฉน  ชีวนฺติิ  ขคา  อิวานฺเย์  ติฺฤณานิ  เกจินฺมฺฤควจฺจรนฺติิ  |

                          เกจิทฺภุชงฺไคะ  สห  วรฺติย์นฺติิ  วลัฺมีกภ้ติา  วนมารุเติน  || ๗.๑๕ ||

                     ฤาษีบางพวกเป็นอยู่่ด่้วย่อาห็ารที�เก็บเอาจ้ากพื�นเห็มีือนกับนก บางพวกเคี�ย่วกินห็ญ้าเห็มีือน

             กับกวาง บางพวกใช้ชีวิติอยู่่ร่วมีกับงูเห็มีือนกับเป็นจ้อมีปลัวกที�อยู่่ร่วมีกับลัมีในป่า
                                                                        (จ้อห็์นสติัน, ๒๕๖๔ : ๑๕๒)

                     อนึ�ง มีีข้อสังเกติว่าธรรมีชาติิที�สะท้อนภาพวิถึีชีวิติของผูู้้คนชาวเมีืองในมหากาพย์พุทธจริต

             ธรรมีชาติิเป็นศูนย่์กลัางกิจ้กรรมีการพักผู้่อนห็ย่่อนใจ้ของผูู้้คนชาวเมีือง ซ์ึ�งทุกคนที�มีีจ้ิติใจ้เป็นกุศลั
             ได่้ร่วมีกันสร้างสถึานที�วนอุทย่าน เทวาลััย่ สถึานที�สำาคัญทางศาสนา แลัะสถึานที�ใช้ประโย่ชน์ร่วมีกัน

             ของชาวเมีืองคลั้าย่กับสวนสาธารณะ วนอุทย่านภาย่ในเมีืองนี�จ้ึงเป็นศูนย่์กลัางของชีวิติชาวเมีือง
             เป็นสถึานที�ถึูกจ้ัด่แติ่งประด่ับประด่าอย่่างด่ี งด่งามีน่าชมี ด่ังที�อัศวโฆษพรรณนาบ้านเมีืองกปิลัวาสติุ
             ในสรรคที� ๒ ความีติอนห็นึ�งกลั่าวว่า “ในราชอาณาจ้ักรนั�นบุคคลัผูู้้ฝีักใฝี่ในธรรมีทั�งห็ลัาย่ย่ังได่้ช่วย่กัน

             สร้างอุทย่าน เทวาลััย่ อาศรมี บ่อนำ�า ที�ด่ื�มีนำ�าสาธารณะ สระโบกขรณี แลัะสวนป่า เห็มีือนกับเคย่เห็็น
             สวรรค์มีาแลั้วด่้วย่ติาตินเอง” (จ้อห็์นสติัน, ๒๕๖๔ : ๖๑)


             บทสรุป
                     การศึกษาเรื�องลัักษณะเด่่นของบทพรรณนาธรรมีชาติิในมหากาพย์พุทธจริตของอัศวโฆษ

             พบว่ากวีนำาธรรมีชาติิมีาใช้สร้างสรรค์บทพรรณนาเชื�อมีโย่งกับเนื�อห็าติ่าง ๆ ได่้อย่่างงด่งามีน่าประทับใจ้
             โด่ย่เฉพาะเมีื�อมีีการใช้ธรรมีชาติิเพื�อเปรีย่บเทีย่บให็้เห็็นพระคุณลัักษณะแลัะอุปนิสัย่ของพระพุทธเจ้้า
             นับแติ่ครั�งเป็นเจ้้าชาย่เป็นติ้นมีา ซ์ึ�งอัศวโฆษให็้ความีสำาคัญอย่่างย่ิ�ง เพราะพบว่ามีีความีเปรีย่บใน

             เนื�อห็าส่วนนี�มีากถึึง ๓๒ กลัุ่มี บทพรรณนาธรรมีชาติิในเรื�องย่ังช่วย่เสริมีสร้างความีน่ารื�นรมีย่์ แลัะ
             ขับเน้นอารมีณ์โศกเศร้าสะเทือนใจ้ได่้อย่่างเข้มีข้น  อนึ�ง การศึกษาประเด่็นเรื�องบทพรรณนาธรรมีชาติิ

             ในมหากาพย์พุทธจริตนี�  ไมี่เพีย่งพบว่าบทพรรณนาธรรมีชาติิเป็นองค์ประกอบทางวรรณศิลัป์ที�โด่ด่เด่่น
             เท่านั�น ห็ากย่ังพบว่าบทพรรณนาธรรมีชาติิได่้สะท้อนให็้เห็็นวิถึีชีวิติของผูู้้คนในสังคมีในยุ่คสมีัย่ของกวี
             ไว้ด่้วย่อย่่างชัด่เจ้น
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56