Page 79 - 47-2
P. 79
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
ศาสตราจารย์์สุดาศิริ วศวงศ์ 69
๑.๓ การคุ้มีครองให้มีีการจ่ายค่าต่อบแทนการทำางานที�เท่าเทียมีกัน
การจ่ายค่าต่อบแทนในการทำางานที�เท่าเทียมีกันได้ถึูกกำาหนดไว้โดยอนุสำัญิญิา
ฉบับที� ๑๐๐ ว่าด้วยการจ่ายค่าต่อบแทนที�เท่าเทียมีกัน ค.ศ. ๑๙๕๑ (Convention Concerning the
Equal Remuneration, 1951) กำาหนดให้รัฐต่้องสำ่งเสำริมีให้มีีการกำาหนดอัต่ราค่าต่อบแทนการทำางานที�
เท่าเทียมีกันสำำาหรับคนงานชายและหญิิง จากการทำางานที�มีีคุณค่าเท่ากันโดยไมี่มีีการเล่อกปฏิิบัต่ิ และ
ข้อแนะขององค์การแรงงานระหว่างประเทศที�เกี�ยวข้องได้แก่ ฉบับที� ๙๐ ว่าด้วยค่าต่อบแทนที�เท่าเทียมีกัน
ค.ศ. ๑๙๕๑ (Recommendation Concerning the Equal Remuneration, 1951) มีีสำาระสำำาคัญิ
เพ่�อสำนับสำนุนแนวทางของอนุสำัญิญิาฉบับที� ๑๐๐ กล่าวค่อ รัฐควรมีีมีาต่รการและเป้าหมีายที�จะทำาให้
เกิดความีเท่าเทียมีกันในการทำางานอย่างแท้จริง
๑.๔ การคุ้มีครองมีิให้เล่อกปฏิิบัต่ิในการจ้างงานและอาชีพ
การคุ้มีครองมีิให้เล่อกปฏิิบัต่ิในการจ้างงานและอาชีพได้กำาหนดไว้ในอนุสำัญิญิา
ฉบับที� ๑๑๑ ว่าด้วยการเล่อกปฏิิบัต่ิ (การจ้างงานและอาชีพ) ค.ศ. ๑๙๕๘ [Convention Concerning
the Discrimination (Employment and Occupation), 1958) มีีสำาระสำำาคัญิที�เกี�ยวกับการใช้แรงงาน
ในข้อ ๕ ที�กำาหนดมีิให้เล่อกปฏิิบัต่ิเน่�องมีาจากความีแต่กต่่างทางเพศ ดังนั�น ในการจ้างงานระหว่าง
แรงงานหญิิงกับแรงงานชาย นายจ้างจะต่้องดำาเนินการในเร่�องต่่าง ๆ ต่ลอดจนให้ความีคุ้มีครองโดย
ไมี่นำาเร่�องเพศมีาเป็นเหตุ่ผลในการกีดกัน กดดัน หร่อปฏิิบัต่ิให้แต่กต่่างกัน และข้อแนะขององค์การ
แรงงานระหว่างประเทศที�เกี�ยวข้องได้แก่ ฉบับที� ๑๑๑ ว่าด้วยการเล่อกปฏิิบัต่ิ (การจ้างงานและอาชีพ)
ค.ศ. ๑๙๕๘ [Recommendation Concerning the Discrimination (Employment and
Occupation), 1958] มีีสำาระสำำาคัญิเพ่�อสำนับสำนุนแนวทางของอนุสำัญิญิาฉบับที� ๑๑๑ ให้สำามีารถึ
ปฏิิบัต่ิได้อย่างมีีประสำิทธิภาพ (ฉันทนา เจริญิศักดิ�, ๒๕๖๒ : ๗-๓๔–๗-๓๕)
๑.๕ การคุ้มีครองเฉพาะหญิิงมีีครรภ์
การให้ความีคุ้มีครองแก่ลูกจ้างซึ่ึ�งเป็นหญิิงมีีครรภ์เป็นการเฉพาะได้ถึูกกำาหนดไว้
ในอนุสำัญิญิาฉบับที� ๑๐๓ ว่าด้วยการคุ้มีครองหญิิงซึ่ึ�งมีีครรภ์ ค.ศ. ๑๙๕๒ (Convention on Maternity
Protection, 1952) มีีสำาระสำำาคัญิดังนี�
(๑) การลาคลอดได้กำาหนดระยะเวลาที�หญิิงควรจะมีีสำิทธิในการลาคลอดไว้
ไมี่น้อยกว่าสำิบสำองสำัปดาห์ โดยที�หกสำัปดาห์หลังควรจะเป็นการลาหลังคลอด แต่่ถึ้าวันคลอดล่าช้ากว่า
กำาหนดหร่อกรณีเจ็บป่วยอันเป็นผลต่่อเน่�องจากการต่ั�งครรภ์ ก็สำามีารถึย่ดระยะเวลาในการลาคลอด
ออกไปได้อีก