Page 75 - 47-2
P. 75
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
ศาสตราจารย์์สุดาศิริ วศวงศ์ 65
การคุ้้�มคุ้รองแรงงานหญิิงตามกฎหมาย
ศาสตราจารย์ส้ดาศิริ วศวงศ์
ภาคีีสมาชิิก สำานัักธรรมศาสตร์และการเมือง
ราชิบััณฑิิตยสภา
บทคััดย่่อ
แรงงานหญิิงมีีบทบาทและความีสำำาคัญิต่่อครอบครัว สำังคมี และประเทศชาต่ิมีาเป็น
ระยะเวลายาวนานจนถึึงปัจจุบัน การทำางานของแรงงานหญิิงจึงเป็นเร่�องสำำาคัญิที�จะต่้องให้
การคุ้มีครองเท่าเทียมีกับแรงงานชาย ไมี่ว่าจะเป็นเร่�องประเภทของงาน นำ�าหนักที�จะทำางานยก
แบก หาบ หามี ลาก เข็น กำาหนดเวลาทำางาน ค่าต่อบแทนในการทำางาน โดยเฉพาะอย่างยิ�ง
หญิิงมีีครรภ์ยิ�งต่้องได้รับการคุ้มีครองเป็นพิเศษในเร่�องการต่ั�งครรภ์และการลาคลอด องค์การ
แรงงานระหว่างประเทศจึงกำาหนดมีาต่รการในการให้ความีคุ้มีครองการทำางานของแรงงานหญิิง
และหญิิงมีีครรภ์ไว้เป็นมีาต่รฐานสำากล และประเทศไทยซึ่ึ�งเป็นสำมีาชิกขององค์การแรงงาน
ระหว่างประเทศได้รับเอามีาต่รฐานขององค์การแรงงานระหว่างประเทศมีากำาหนดไว้ใน
กฎหมีายเกี�ยวกับการคุ้มีครองแรงงานทุกฉบับซึ่ึ�งสำอดคล้องกับรัฐธรรมีนูญิแห่งราชอาณาจักร
ไทย แผนยุทธศาสำต่ร์ชาต่ิ ๒๐ ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสำังคมีแห่งชาต่ิที�จะไมี่มีีการ
เล่อกปฏิิบัต่ิระหว่างแรงงานหญิิงกับแรงงานชาย
คัำ�สำำ�คััญ : คุ้มีครองแรงงาน เล่อกปฏิิบัต่ิ แรงงานหญิิง เท่าเทียมี ลาคลอด
Abstract: The Female Labour Protection according to Laws.
Professor Sudasiri Wasawong
Associate Fellow of the Academy of Moral and Political Sciences,
The Royal Academy of Thailand
From past to present, female workers have served a vital role in family,
society, and country. Therefore, they deserve to earn equal protections as male
workers; for example, on types of work, weight limit, work time and payment.
In addition, the pregnant workers need special care for childbearing and
maternity leave. Accordingly, International Labour Organization (ILO) promotes