Page 142 - 47-2
P. 142
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
132 ทรรศนะทางจริยศาสตร์ของอาริสโตเติล เร่�องมิิตรภาพ
คัว่ามจริิงอย่่ในโลกน่� ริว่มถึึงนักป็ริัชื่ญากริ่กคันอ่�น ๆ อย่่ในภาพ ถึ่อเป็็นภาพท่�ม่คัว่ามสำำาคััญทางป็ริัชื่ญา
ป็ัจจุบันภาพน่�อย่่ท่�นคัริริัฐว่าติกัน
ทรรศนะทางจริยศาสตร์
ถึึงแม้คัว่ามคัิดีของอาริิสำโตเติลจะแตกต่างจากเพลโตผ่้เป็็นอาจาริย์หลายป็ริะการิ แต่คัว่ามคัิดี
ป็ริะการิหนึ�งท่�ตริงกันริะหว่่างโสำกริาต่สำ (ผ่้เป็็นอาจาริย์ของเพลโต) เพลโต และอาริิสำโตเติล (1962 : XIII)
คั่อการิเชื่่�อว่่า มินุษย์เป็นสิ�งมิีภาวะที�มิีเหตุผล (rational being) นี�ค่อธ์รรมิชีาติที�แท้จริงของมินุษย์
การิกริะทำาตามธิริริมชื่าติของมนุษย์คั่อการิกริะทำาตามเหตุผล และกัระทำาตามิเหตุผลค่อกัารกัระทำา
ที�ดีี ม่ข้อแตกต่างอย่่ตริงท่�โสำกริาต่สำและเพลโตเชื่่�อว่่าป็ัญญาหริ่อป็ริ่ชื่าญาณ (wisdom ภาษากริ่ก คั่อ
phronesis) เป็็นสำิ�งท่�ทำาให้เข้าถึึงคัว่ามริ่้ท่�แท้จริิง เข้าถึึงคัุณธิริริม คัว่ามดี่ คัว่ามงาม และต้องตามกริะนั�น
ตามคัำากล่าว่ของโสำกริาต่สำ คัุณธิริริมคั่อคัว่ามริ่้ (virtue is knowledge) ความิร้้กัับุกัารกัระทำาจะต้อง
เกัิดีพร้อมิกัันในคนที�มิีความิร้้ ดีังนั�น คันเริาจึงคัว่ริคัิดีอย่างไตริ่ตริอง (reflection) การิเพ่งพินิจ
(contemplate) และคัว่ามริอบคัอบ (prudence) คัว่ามริ่้กับการิกริะทำาคัว่บคั่่กัน
อาริิสำโตเติล (1962 : 43) อธิิบายต่อจากคัว่ามริอบคัอบโดียเพิ�มกัารร้้จักัเล่อกั (choice
ภาษากริ่ก proairesis) เล่อกการิกริะทำาและลงม่อป็ฏิิบัติอย่างสำมำ�าเสำมอจนเป็็นคัว่ามเคัยชื่ิน เป็็นนิสำัย
เป็็นบุคัลิกทางจริิยธิริริม (moral character) ดีังนั�น อาริิสำโตเติลจึงสำริุป็ว่่า คุณธ์รรมิค่อสภาวะของ
บุุคลิกัภาพที�เกัิดีจากักัารเล่อกับุนพ่�นฐานของวิถึี (mean) ที�บุุคคลกัำาหนดีไดี้จากัหลักักัารทางเหตุผล
ซึ่ึ�งเกัิดีจากักัารใชี้ปรีชีาญาณทางกัารปฏิิบุัติ (practical wisdom) ในบทท่� ๒ ของ Nicomachean
Ethics อาริิสำโตเติลอธิิบายถึึงเริ่�องน่�ว่่า
การิกริะทำาอย่างม่ศ่ลธิริริม (moral เป็็นคัำาท่�นักป็ริัชื่ญายุโริป็ ในยุคัของป็ริัชื่ญาสำมัยใหม่
ใชื่้แทนคัำา Ethics ซึ่ึ�งเป็็นภาษากริ่ก ภาษาไทยใชื่้ศ่ลธิริริม/จริิยธิริริม) คั่อการิกริะทำาท่�เหมาะสำมแก่บุคัคัล
เหมาะสำมกับขอบเขต เหมาะสำมกับเว่ลา ดี้ว่ยแริงจ่งใจท่�ถึ่กต้อง และดี้ว่ยว่ิธิ่การิท่�ถึ่กต้อง
“…to act morally is to do something to the right person, to the right extent,
at the right time, with the right motive, and in the right way” (Kolenda, 1974 : 54)
เพ่�อให้เป็็นท่�กริะจ่างชื่ัดียิ�งขึ�น อาริิสำโตเติลแบ่งคัุณธิริริมออกเป็็น ๒ ป็ริะเภท ไดี้แก่ คัุณธิริริม
ทางพุทธิิป็ัญญา (intellectual virtue) และคัุณธิริริมทางศ่ลธิริริม (moral virtue)