Page 100 - 22-0320 ebook
P. 100
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๕
92 บทละครในเร่�องอิเหนา ตอนศึึกกะหมัังกุหนิง
ผูู้้เป็นเช่ษฐามัาสู่ขอ ทำ้าวดาหาก็ย่กบุษบาแก่จรกาตามัคำาทำ้�ประกาศึไว้ ดังนั�นเมั้�อทำ้าวกะหมัังกุหนิงมัา
สู่ขอนางบุษบา ทำ้าวดาหาจึงปฏิเสธ์เพราะได้ย่กบุษบาให้แก่จรกาไปแล้ว
อย่่างไรก็ตามั ทำ้าวดาหากล่าวหาว่าอิเหนาเป็นต้นเหตุของการเกิดศึึกครั�งน้� ดังตอนปาเตะ
ทำูลว่าทำ้าวกะหมัังกุหนิงย่กทำัพใหญ่่มัาและตั�งทำัพอยู่่นอกเมั้องดาหา ทำ้าวดาหาก็ทำรงคิดว่าสาเหตุของ
สงครามัเกิดจากทำ้าวกะหมัังกุหนิงสู่ขอบุษบาไมั่สำาเร็จ และอ้กสาเหตุหนึ�งเกิดจากอิเหนาไมั่ย่ินย่อมั
อภิเษกกับนางบุษบาจนทำำาให้เกิดสงครามัตามัมัา ดังน้�
อันศึึกครั�งน้�ซึ่ึ�งมั้มัา เพราะเขาขอบุษบาเราไมั่ให้
จึงเป็นเส้�ย่นศึัตรูหมัู่ภัย่ น้อย่ใจด้วย่อิเหนานัดดา
แกล้งจะให้เกิดการโกลาหล ร้อนรนไปทำั�วทำุกเส้นหญ่้า
เส้�อมัเดช่เพศึพงศึ์เทำวา ศึึกมัาถูึงราช่ธ์าน้
( เร่�องอิเหนัา พระราชนัิพนัธ์์รัชกาลท่� ๒, ๒๕๑๔ : ๒๙๕)
ทำ้าวกุเรปันก็ทำรงคิดว่าอิเหนาเป็นสาเหตุของสงครามัเช่่นกัน เพราะอิเหนาหลงรักจินตะหรา
จนไมั่ย่อมัจากหมัันหย่ามัาเข้าพิธ์้อภิเษกกับนางบุษบาทำ้�เมั้องกุเรปัน ดังข้อความัตอนหนึ�งในพระราช่สาร
ทำ้�ทำ้าวกุเรปันมั้ถูึงอิเหนาว่า
ซึ่ึ�งเกิดศึึกสาเหตุเภทำภัย่ ก็เพราะใครทำำาความัไว้งามัพักตร์
ครั�งหนึ�งก็ให้เส้ย่วาจา อาย่ช่าวดาหาอาณาจักร
ครั�งน้�เร่งคิดดูจงหนัก จะซึ่ำ�าให้เส้ย่ศึักดิ�ก็ตามัทำ้
( เร่�องอิเหนัา พระราชนัิพนัธ์์รัชกาลท่� ๒, ๒๕๑๔ : ๒๙๙–๓๐๐)
จากทำ้�กล่าวมัาข้างต้นเห็นช่ัดเจนว่าตัวละครทำั�งสามั ค้อ ทำ้าวกะหมัังกุหนิง ทำ้าวดาหา และ
อิเหนา ต่างก็มั้ส่วนผู้ิดทำ้�ทำำาให้เกิดสงครามั อิเหนาดูจะมั้ส่วนผู้ิดมัากทำ้�สุดเพราะเป็นต้นเร้�องทำ้�ทำำาให้เกิด
ความัวุ่นวาย่และความัเด้อดร้อนเร้�องศึึกสงครามัตามัมัา
อย่่างไรก็ด้ หากพิจารณาให้รอบคอบ ผูู้้ทำ้�เป็นต้นเหตุในการก่อสงครามัครั�งน้�น่าจะได้แก่
ปะตาระกาหลาผูู้้เป็นบรรพบุรุษของกษัตริย่์เมั้องเทำวาซึ่ึ�งผูู้้เข้ย่นจะกล่าวต่อไป
๑.๔ ปะตาระกาหลา ปะตาระกาหลากริ�วอิเหนาทำ้�ทำำาให้บุษบาจำาจะต้องวิวาห์กับช่าย่
ตำ�าศึักดิ�อย่่างจรกาเพราะอิเหนาไปหลงรักนางจินตะหราและตัดตุนาหงันกับนางบุษบาทำั�ง ๆ ทำ้�ทำั�งสอง
เป็นคู่เหมัาะสมัในสาย่ตาและความัเห็นของผูู้้ใหญ่่ทำั�งฝ่่าย่กุเรปันและดาหา ปะตาระกาหลาจึงประสงค์
จะลงโทำษอิเหนาให้ได้รับความัทำุกขเวทำนาอย่่างแสนสาหัส ดังกลอนว่า