Page 271 - 46-1
P. 271

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑  มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
             ดร.พรธรรม ธรรมวิิมล                                                             263


                     ภููมิสถาปนิก ค้ือ ผู้ที�รับผิดีชอบในเรื�องการออกแบบสร้างสรรค้์งานภููมิสถาปัตยกรรม รวมทั�ง

             การปกป้องสิ�งแวดีลิ้อมทั�งทางธีรรมชาติแลิะวัฒนธีรรม บนผืนแผ่นดีินที�ปรากฏในรูปของภููมิทัศน์แลิะ

             ภููมิทัศน์วัฒนธีรรม  การออกแบบงานภููมิสถาปัตยกรรมนี�จ่งเป็นส่วนที�สำาค้ัญมีบทบาทในการสร้างสรรค้์
             ร่วมกับงานสถาปัตยกรรมเพื�อให้ไดี้งานที�สมบูรณ์แบบแลิะถูกต้อง โดียมีค้วามสำาค้ัญในการทำางาน
             ตั�งแต่ช่วงเริ�มต้นงานออกแบบในการร่วมวิเค้ราะห์แลิะกำาหนดีการใช้สอยพื�นที�ตั�งแต่เริ�มแรกที�เรียกว่า

             “งานวางผังบริเวณ” ซึ่่�งต้องมีค้วามสอดีค้ลิ้องร่วมไปกับการออกแบบในองค้์รวมของงานทั�งหมดีเพื�อ

             การใช้สอยที�เหมาะสม การสื�อค้วามหมาย แลิะสุนทรียภูาพของพื�นที� เป็นต้น สำาหรับการออกแบบ
             พระเมรุมาศนั�น งานภููมิสถาปัตยกรรมเข้ามามีบทบาทตั�งแต่เรื�องการวางผังในการกำาหนดีที�ตั�งแลิะ
             การจัดีวางตำาแหน่งอาค้าร ตลิอดีจนการวางแนวค้ิดีในการออกแบบเพื�อการใช้งาน สื�อค้วามหมาย แลิะ

             เพื�อสุนทรียภูาพของสภูาพแวดีลิ้อมในพื�นที�มณฑลิพิธีี

             ภููมิิสถาปััตยกรรมิในพัระเมิรุมิาศ

                     สำาหรับพระราชพิธีีถวายพระเพลิิงพระบรมศพของพระมหากษััตริย์ไทยในอดีีตนั�น ปรากฏ

             ในประวัติศาสตร์ที�สืบค้้นจากหลิักฐาน พบว่าเป็นผลิงานการสร้างสรรค้์การออกแบบแลิะก่อสร้าง
             โดียนายช่างหลิวงตามรูปแบบโบราณราชประเพณีที�ไดี้ถือปฏิบัติสืบต่อกันมา นายช่างหลิวงนั�นค้ือ
             สถาปนิกซึ่่�งเป็นผู้ออกแบบงานทั�งหมดี โดียมีทีมนายช่างผู้ช่วยร่วมทำางานดี้วยเนื�องจากเป็นงานใหญ่

             ซึ่่�งในยุค้สมัยนั�นยังมิไดี้มีการแบ่งแยกหน้าที�สถาปนิก ภููมิสถาปนิก หรือมัณฑนากร แต่อย่างไร สำาหรับ

             ในยุค้ปัจจุบันนี�ไดี้มีการแบ่งหน้าที�รับผิดีชอบตามสายงานวิชาชีพในการออกแบบ ซึ่่�งมีการเรียนการสอน
             ที�แยกสาขาวิชาชีพตั�งแต่ในระดีับอุดีมศ่กษัา แลิะการแบ่งหน้าที�รับผิดีชอบโดียสภูาวิชาชีพอย่างชัดีเจน
                     ในการพิจารณาลิักษัณะงานภููมิสถาปัตยกรรมในงานพระเมรุมาศนั�น ประกอบดี้วยงานการ

             วางผังบริเวณแลิะการออกแบบภููมิสถาปัตยกรรมในบริเวณพื�นที�ทั�งหมดี

                     ประการแรกค้ือจุดีเริ�มต้นของการก่อสร้าง ไดี้แก่ การกำาหนดีขอบเขตพื�นที�ตำาแหน่งของ
             การวางตัวอาค้ารในพื�นที�งานประเภูทนี�ว่า การวางผังบริเวณ
                     ประการที� ๒ ไดี้แก่ การออกแบบพื�นที�ว่างระหว่างอาค้ารเพื�อการใช้สอยที�ดีีแลิะเพื�อสร้างเสริม

             บรรยากาศ การนำาค้วามหมายที�เกี�ยวข้องมาออกแบบเพื�อสื�อสารถ่ายทอดีสู่ผู้ที�เข้ามาใช้พื�นที�นั�น ๆ

             หรือที�ปรากฏเป็นภูาพลิักษัณ์
                     จากประวัติศาสตร์ของการสร้างพระเมรุมาศนั�น หากพิจารณาเฉพาะลิักษัณะงานภููมิ-
             สถาปัตยกรรมนั�นเท่าที�สืบค้้นจากเอกสารโบราณสมัยอยุธียา พระเมรุมาศในรัชสมัยสมเดี็จพระเจ้า
   266   267   268   269   270   271   272   273   274   275   276