Page 273 - 46-1
P. 273
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
ดร.พรธรรม ธรรมวิิมล 265
ที�สามารถหาไดี้ง่าย ก่อสร้างไดี้เร็ว สามารถค้งทนอยู่ไดี้ช่วงเวลิาหน่�ง ไม่ถาวร ส่วนใหญ่เป็นวัสดีุ
ธีรรมชาติเช่น ไม้ ไม้ไผ่ กระดีาษั ผ้า สำาหรับส่วนแรกของงานภููมิสถาปัตยกรรมนั�น ไดี้แก่ งาน
ก่อสร้างพื�นลิานรอบพระเมรุแลิะพื�นที�ปริมณฑลิ งานส่วนที� ๒ ค้ือ การก่อสร้างองค้์ประกอบที�
ต่อเนื�องกับอาค้ารแลิะพื�นที�ต่อเนื�อง ซึ่่�งส่วนมากใช้ไม้ไผ่เป็นโค้รงสร้างหลิัก เช่น การปูพื�นทางเดีิน
พื�นลิานภูายนอกในส่วนที�สำาค้ัญรอบพระเมรุ โดียใช้ไม้ไผ่นำามาตีแผ่แลิะสานเพื�อการทำาพื�นลิานที�
เรียกว่า “การตีเรือก” หรือการสร้างส่วนประดีับรอบอาค้ารพระเมรุ เช่น การสร้างเป็นโขดีหิน ประดีับฐาน
พระเมรุ เป็นโค้รงสร้างไม้ไผ่สานปิดีดี้วยกระดีาษัหรือผ้าแลิ้วเขียนสีตกแต่ง ลิักษัณะของผังแลิะ
๑
ทัศนียภูาพที�ปรากฏนี�เป็นพระเมรุมาศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดียมีพระเมรุในพระราชพิธีีถวาย
พระเพลิิงพระบรมอัฐิสมเดี็จพระปฐมบรมมหาชนกต้นราชวงศ์จักรี ณ ทุ่งพระเมรุ ลิักษัณะงานภููมิ-
สถาปัตยกรรมที�มีแบบแผนสืบต่อมาจากสมัยอยุธียา แลิะยังมีการสร้างพระเมรุมาศต่อมาตาม
รูปแบบนี�จนถ่งพระเมรุมาศของพระบาทสมเดี็จพระจอมเกลิ้าเจ้าอยู่หัว
ภูาพัท่� ๑ พระเมรุมาศที�ประดีิษัฐานพระบรมศพ พระบาทสมเดี็จพระจอมเกลิ้าเจ้าอยู่หัว
ณ ท้องสนามหลิวง
ท่�มิา : สมุดีภูาพจดีหมายเหตุ งานพระเมรุมาศ แลิะงานพระเมรุ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์, ๒๕๖๐ : ๑๔
๑ โขดีหินที�เข้าใจว่าเป็นโค้รงสร้างไม้แลิะไม้ไผ่ วิเค้ราะห์จากภูาพถ่ายพระเมรุบรรพตประดีิษัฐานพระศพ สมเดี็จพระเจ้าบรมวงศ์เธีอ
เจ้าฟ้าจันทรมณฑลิโสภูณภูค้วดีี กรมหลิวงวิสุทธีิกระษััตริย์ ณ ท้องสนามหลิวง (สมุดีภูาพจดีหมายเหตุงานพระเมรุมาศแลิะงานพระเมรุ
ในสมัยรัตนโกสินทร์ ๒๕๖๐ : ๑๒๙)